590 likes | 1.91k Views
สื่อการสอน. ส 4210 วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. เรื่อง วิวัฒนาการการปกครองไทย. ครูธนาพร เหรียญทอง. คศ.2 โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรีเขต 1. การปกครองสมัยสุโขทัย. เมืองประเทศราช. เมืองพระยามหานคร. เมืองลูกหลวง.
E N D
สื่อการสอน ส 4210 วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง วิวัฒนาการการปกครองไทย ครูธนาพร เหรียญทอง คศ.2 โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรีเขต 1
การปกครองสมัยสุโขทัย เมืองประเทศราช เมืองพระยามหานคร เมืองลูกหลวง ราชธานี (อุปราช - เชื้อพระวงศ์) (ข้าราชการที่กษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) เจ้าเมืองแต่งส่งส่วย
การปกครองสมัยสุโขทัย น่าน , เซ่า , เวียงจันทร์ , เวียงคำ เมืองแพร่ เมืองแพรกสุพรรณภูมิ ศรีสัชนาลัย เมืองหล่มสักเพชรบูรณ์ ศรีเทพ ชากังราว สุโขทัย สองแคว สระหลวง ราชบุรี , เพชรบุรี , ตะนาวศรี นครศรีธรรมราช , ยะโฮว์ , มะละกา
โครงสร้างการปกครองสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) กษัตริย์ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค จุตสดมภ์ หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก ประเทศราช โคราคบุรี จันทบูร ตะนาวศรี เชียงกรานทวาย ไชยา นครศรีฯ พัทลุง สงขลา ถลาง ลพบุรี พระประแดง นครนายก สุพรรณบุรี มะละกา ยะโฮว์ เวียง วัง คลัง นา
การรวมอำนาจในสมัยพระบรมไตรโลกนาถการรวมอำนาจในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ เมืองประเทศราช หัวเมืองชั้นนอก หัวเมืองชั้นใน เอก ราชธานี โท ตรี
การปกครองสมัยอยุธยา (พระบรมไตรโลกนาถ) ราชธานี ส่วนกลาง สมุหนายก สมุหพระกลาโหม (ฝ่ายทหาร – หัวเมืองใต้) (ฝ่ายพลเรือน – หัวเมืองเหนือ) จตุสดมภ์ กรมท่า (พระโกษาธิบดี) พระโกษาธิบดี พระนคร พระธรรมาธิกรณ์ พระเกษตราธิบดี กรมท่าขวา (ติดต่อกับอินเดีย และเปอร์เซีย) กรมท่ากลาง (ติดต่อทั่วไป) กรมท่าซ้าย (ติดต่อกับจีน)
การปกครองสมัยอยุธยา (พระบรมไตรโลกนาถ) ราชธานี ส่วนภูมิภาค หัวเมืองชั้นใน (เมืองจัตวา) เมืองเอก หัวเมืองชั้นนอก เมืองโท เมืองตรี เมืองประเทศราช
ลำดับเหตุการณ์การเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 1 ฝ่ายไทย สมเด็จพระมหินทราธิราช ไทยเสียเอกราช ปี พ.ศ.2112 นาน 15 ปี พระธรรมราชา (ดูแลที่พิษณุโลก) พระนเรศวร กอบกู้เอกราช โดยประกาศอิสระภาพ พม่ายุยงให้ทั้ง 2 ฝ่ายแตกแยกกัน ครั้งยกทัพไปช่วยพม่ารบ อังวะที่เมืองแกรง พ.ศ.2127 โดยส่งพระยาจักรี เข้ามา
ลำดับเหตุการณ์การเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 1 ฝ่ายพม่า ไทยยอมสงบศึก โดยเสีย - พระราเมศวร (แม่ทัพไทย) - พระสมุทรสงคราม - พระยาจักรี - ช้างเผือก 4 เชือก - ส่งส่วยให้พม่าทุกปี พระเจ้าบุเรงนอง ครองราชย์ต่อจาก พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ (มังตรา) พม่าส่งทูตมาไทย เพื่อขอช้างเผือก 4 เชือกไทยไม่ให้จึงยกทัพมาตีอยุธยา (สงครามช้างเผือก พ.ศ.2106) พม่าใช้พระยาจักรี เป็นไส้ศึก ส่งเข้ามาอยุธยาทำให้เสียกรุงศรี ฯ ครั้งที่ 1
ลำดับเหตุการณ์การเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ฝ่ายไทย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (2275 – 2301) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอุทุมพร (อุปราช อยู่เพียง 2 เดือน) สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์(พระเจ้าเอกทัศน์) 2301-2310) เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 (พม่าล้อมอยู่ 1 ปี 4 เดือน)
ลำดับเหตุการณ์การเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ฝายพม่า พระเจ้าอลองพญา (2302) (แม่ทัพคือ พระเจ้ามังระ ราชบุตร) ไม่สำเร็จ เพราะถูกปืนใหญ่จึงยกทัพกลับ พระเจ้ามังระ (2309) ฝ่ายตะวันตก ฝ่ายเหนือ (เนเมียวสีหบดี) (มังมหานอรธา) ชายฝั่งทะเลทางตะวันตก - ทวาย - ตะนาวศรี - มะริด - เพชรบุรี - ราชบุรี เชียงใหม่กับหัวเมือง เหนือของไทย - ล้านนา - ล้านช้าง - ไทยใหญ่
เส้นทางการกอบกู้เอกราช พระเจ้าตาก ทางเรือ 100 ลำ = 5,000 คน จันทบุรี ใช้กลวิธี - แบบกองโจร - แบบเจรจาให้เจ้าเมืองเข้าร่วม - เกลี้ยกล่อมราษฎรให้เข้าร่วม ผ่านชลบุรี
เมืองด่านเก็บภาษีอากรทางน้ำ ของอยุธยาเดิมพม่าให้นายทองอินทร์ คอยดูแล คุมกำลังรักษาด่วน เมื่อพระเจ้าตามเข้าเมืองได้ จับนายทองอินทร์ประหาร ตีธนบุรี ที่ค่ายโพธิ์สามต้น สุกี้พระนายกองตายในสนามรบ พระเจ้าตามกู้เอกราชได้ 6 พฤศจิกายน 2310 พระเจ้า เอกทัศน์ เสด็จหนีออกนอกเมืองได้ และสวรรคตเพราะ อดอาหาร พม่าได้ฝังพระศพไว้ที่ค่าโพธิ์สามต้น พระเจ้า ตามได้ให้คนขุดพระศพ และประกอบพระราชพิธี ถวาย เพลิงที่วัดโคกพระเมรุ ตีอยุธยา
การสถาปนาราชธานี (ธนบุรี) เหตุที่ย้ายราชธานีจากอยุธยา 1. อยุธยาถูกทำลายมาก ยากแก่การบูรณะ 2. อยุธยามีอาณาบริเวณกว้างเกินกว่ากำลังของ พระเจ้าตากจะดูแลได้ 3. ข้าศึกรู้ภูมิประเทศเป็นอย่างดี 4. อยุธยาอยู่ห่างทะเลไม่สะดวกในการติดต่อ ค้าขายกับต่างประเทศ
การสถาปนาราชธานี (ธนบุรี) เหตุที่เลือกธนบุรีเป็นราชธานี 1. ธนบุรีเป็นเมืองขนาดเล็ก ดูแลง่าย 2. ถ้าข้าศึกมีกำลังมากว่ารักษากรุงไม่ได้ก็ย้ายมาตั้งที่จันทบุรีได้ 3. ธนบุรีมีป้อมปราการ ป้องกันข้าศึกอยู่แล้ว 4. ธนบุรีตั้งอยู่บนเกาะ ป้องกันข้าศึกตีโอบล้อมกรุงได้ 5. ธนบุรีอยู่ใกล้ปากแม่น้ำเจ้าพระยาสะดวกในการค้า 6. ธนบุรี มีวัดที่สร้างในสมัยอยุธยาไม่ต้องสร้างใหม่ (ศูนย์รวมของประชาชน) 7. ธนบุรีมีสภาพอุดมสมบูรณ์มากว่าอยุธยา
การย้ายราชธานีใหม่ ธนบุรี – รัตนโกสินทร์ ด้านยุทธศาสตร์ 1. ธนบุรีเป็นเมืองอกแตก – แม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านกลางเมือง ยากแก่การป้องกัน 2. ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาเหมาะสำหรับ ตั้งเมืองหลวงใหม่ เพราะ - เป็นเมืองหัวโค้ง แม่น้ำเจ้าพระยาใช้เป็น กำแพงเมืองธรรมชาติได้ - ด้านตะวันออกเป็นหลุมลึก ยากแก่การโจมตีของข้าศึก - สามารถสร้างคูเมืองทางตอนเหนือเพิ่ม ด้านเดียว
การย้ายราชธานีใหม่ ธนบุรี – รัตนโกสินทร์ ด้านการขยายเมือง 1. ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา แม้จะเป็นที่ราบลุ่ม แต่สามารถขยายเมืองได้ 2. พระราชวังธนบุรี เดิม เป็นที่คับแคบยากแก่ การขยาย และมีวัดขนาบอยู่ - วัดท้ายตลาด - วัดแจ้ง 3. ฝั่งกรุงธนบุรีเป็นเขตน้ำเซาะ ตลิ่งพังทุกปี เพราะอยู่ทางด้านท้องคุ้งน้ำ
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 – รัชกาลที่ 4 กษัตริย์ ส่วนกลาง 1. สมุหนายก (เสนาบดีกรมมหาดไทย = พลเรือน) = บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือ 2. สมุหพระกลาโหม (เสนาบดีกรมพระกลาโหม) = บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ และเมืองชายทะเล
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 – รัชกาลที่ 4 กษัตริย์ ส่วนกลาง 3. ตำแหน่งเสนาบดีจตุสดมภ์ - เสนาบดีกรมเมือง (กรมพระนครบาล) - เสนาบดี กรมวัง (ธรรมาธิกรณ์) - เสนาบดีกรมพระคลัง (กรมท่า) - เสนาบดีกรมนา
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 – รัชกาลที่ 4 กษัตริย์ ส่วนภูมิภาค 1. หัวเมืองชั้นใน (เมืองจัตวา) อยู่รายรอบราชธานี 2. หัวเมืองชั้นนอก แบ่งเป็น - เมืองเอก : พิษณุโลก , นครศรีธรรมราช , นครราชสีมา , ถลาง , สงขลา - เมืองชั้นโท - เมืองชั้นตรี
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 – รัชกาลที่ 4 กษัตริย์ ส่วนภูมิภาค - กษัตริย์ทรงแต่งตั้งพระราชวงศ์ หรือข้าราชการ ชั้นผู้ใหญ่ไปดูแล 3. เมืองประเทศราช - อาจปกครองตนเอง - ส่งเครื่องราชบรรณาการ ทุก 3 ปี
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 – รัชกาลที่ 4 กษัตริย์ ส่วนท้องถิ่น เมือง แขวง ตำบล บ้าน
ปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 กษัตริย์ ส่วนกลาง 1. ยกเลิกตำแหน่งเสนาบดี ทั้ง 2 ตำแหน่ง 2. ตั้งกระทรวง (สมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ) กระทรวงพระคลัง กระทรวงยุทธนาธิการ (รวมกับกลาโหม) กระทรวงยุติธรรม กระทรวงธรรมการ กระทรวงโยธาธิการ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงนครบาล กระทรวงวัง กระทรวงเกษตร – พาณิชยการ กระทรวงการต่างประเทศ
ปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 กษัตริย์ ส่วนกลาง กระทรวงมุรธาธร (รวมกับกระทรวงวัง) 3. ตั้งสภาที่ปรึกษา รัฐมนตรีสภา องคมนตรีสภา
ปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 กษัตริย์ ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น ขึ้นตรงกับกระทรวงมหาดไทย เทศบาล มณฑล (สมุหเทศาภิบาล) สุขาภิบาล (ท่าฉลอม) เมือง (ผู้ว่าราชการเมือง) อำเภอ (นายอำเภอ) หมู่บ้าน (ผู้ใหญ่บ้าน)
สาเหตุของการเปลี่ยนการปกครอง รัชกาลที่ 7 1. การตื่นตัวทางการเมืองของคนรุ่นใหม่ เห็นแบบอย่าง ชาติตะวันตก 2. บทบาทของหนังสือพิมพ์ ในการแพร่แนวความคิด แบบประชาธิปไตย 3. ปัญหาทางเศรษฐกิจตกต่ำเนื่องจาก สงครามโลก ครั้งที่ 1 และปัญหาการเงินการคลังวิกฤต ในสมัยรัชกาลที่ 6
4. ความไม่เป็นธรรมในสังคม ระหว่างชนชั้นศักดินา - สามัญชน 5. การปลดหรือดุลข้าราชการออก เนื่องจาก ภาวะการเงินตกต่ำ
ผลการเปลี่ยนแปลงการปกครองผลการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 1. ยกเลิกการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นแบบประชาธิปไตย โดยมีกษัตริย์เป็นประมุข 2. มีกฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการปกครอง ฉบับชั่วคราว 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 (เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ประธานสภา) ฉบับถาวร 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 (พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรี)
3. พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชฐานะ และพระราช อำนาจ ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจทางอ้อม อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ รัฐสภา รัฐบาล ศาลยุติธรรม
การจัดระเบียบการปกครองไทยสมัยรัชการที่ 7 จนถึงปัจจุบัน รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ อำนาจอธิปไตย อำนาจนิติบัญญัติ (รัฐสภา) - มีสภาเดียว - มีสองสภา
รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ อำนาจบริหาร ส่วนกลาง กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงยุติธรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการคลัง
รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ อำนาจบริหาร ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น - กรุงเทพ ฯ - องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด - เทศบาล - สุขาภิบาล - สภาตำบล - จังหวัด - อำเภอ - กระทรวงกระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีพลังงาน - กระทรวงแรงงานสวัสดิการสังคม - ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ
รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ อำนาจตุลาการ ศาลชั้นต้นในภูมิภาค - ศาลจังหวัด - ศาลแขวง - ศาลคดีเด็กและ เยาวชน ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา ศาลชั้นต้นในกรุงเทพ - ศาลแพ่ง (ธนบุรี) - ศาลอาญา (ธนบุรี) - ศาลแขวง - ศาลคดีเด็กและ เยาวชน
พระราชอำนาจของกษัตริย์หลังพระราชอำนาจของกษัตริย์หลัง เปลี่ยนแปลงการปกครอง ปี 2475 1. พระราชอำนาจส่วนพระองค์ - สถาปนาฐานันดรศักดิ์ - พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ - แต่งตั้งคณะองคมนตรี สมุหราชองครักษ์ ข้าราชการในพระองค์
2. พระราชอำนาจในการใช้อำนาจอธิปไตย - ทรงใช้อำนาจแทนปวงชน โดยลงพระปรมาภิไธย เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ ถูกต้อง ชอบธรรม 3. พระราชอำนาจทั่วไปที่ทรงปฏิบัติในพระปรมาภิไธย - ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทน - ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี - ทรงแต่งตั้งวุฒิสภา - ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้าน - ทรงเรียกประชุมรัฐสภา
สรุปวิวัฒนาการทางการเมืองไทยสรุปวิวัฒนาการทางการเมืองไทย การปกครองสมัยสุโขทัย (พ.ศ.1781 – 1981) ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ลักษณะ 1. พ่อปกครองลูก (ถือหลักครอบครัว) 2. ธรรมราชา (พระยาสีไท) ยึดหลักเทวราชาแบบขอม ผสมกับหลักศาสนา
การปกครองสมัยอยุธยา (พ.ศ.1893 – 2310) ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เหมือนสุโขทัย ลักษณะ 3. กษัตริย์มีพระราชอำนาจ เด็ดขาดในฐานะเจ้าของ แผ่นดิน 1. แนวคิดเกี่ยวกับกษัตริย์ เปลี่ยนเป็นแบบพราหมณ์ 4. การปกครองเป็นแบบ เจ้าปกครองข้า กษัตริย์เป็น ศูนย์กลางของการเมือง 2. ถือกษัตริย์เป็นสมมติเทพ หรือผู้แทนพระเจ้า
สรุปวิวัฒนาการทางการเมืองไทยสรุปวิวัฒนาการทางการเมืองไทย การปกครองสมัยธนบุรี (พ.ศ.2310 - 2325) ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เหมือนอยุธยา ลักษณะ - การปราบชุมชน - การปราบเมือง ประเทศราช - สงครามกับพม่า รูปแบบการปกครองใช้แบบอยุธยา เพราะอยู่ในช่วงรวบรวมอาณาจักร ให้เป็นปึกแผ่น
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.2325 - ปัจจุบัน) ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เหมือนอยุธยา ตั้งแต่รัชกาลที่ 1– รัชกาลที่ 7 ระบอบประชาธิปไตยรัชกาลที่ 7 ลักษณะ ลักษณะ 1. กษัตริย์เป็นประมุขของชาติ 2. อำนาจสูงสุดคือ อำนาจอธิปไตย เป็นของประชาชน 3. ยึดหลักเสียงข้างมากในการบริหาร ประเทศ 1. ฟื้นฟูประเทศ 2. รับอารยธรรมตะวันตก รัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 รัชกาลที่ 7