1 / 17

ผู้บรรยาย วิชุดา ไชยศิวามงคล ห้องพัก 6404

วิชา 316 232 การวิเคราะห์เชิงสถิติ II. (Statistical Analysis II) 3 (3–0–2). ผู้บรรยาย วิชุดา ไชยศิวามงคล ห้องพัก 6404. วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 316 203 การวิเคราะห์เชิงสถิติ 1 หรือรายวิชาที่เทียบเท่ากัน. คำอธิบายรายวิชา (Course Description)

Download Presentation

ผู้บรรยาย วิชุดา ไชยศิวามงคล ห้องพัก 6404

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชา 316 232 การวิเคราะห์เชิงสถิติ II (Statistical Analysis II) 3 (3–0–2) ผู้บรรยาย วิชุดา ไชยศิวามงคล ห้องพัก 6404 วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 316 203 การวิเคราะห์เชิงสถิติ 1 หรือรายวิชาที่เทียบเท่ากัน คำอธิบายรายวิชา (Course Description) การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงจำแนก สถิติแบบไม่ใช้พารามิเตอร์ การวิเคราะห์การตัดสินใจเชิงสถิติ การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ Analysis of variance, regression and correlation analysis, analysis of categorical data, non-parametric statistics, statistical analysis, statistical quality control

  2. การวัดผล สอบกลางภาค 35 % สอบปลายภาค 40 % ทดสอบย่อย 10% รายงานและการนำเสนอกรณีศึกษา 15% ทบทวน

  3. ทบทวน ความหมายและระเบียบวิธีสถิติ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจาย ความน่าจะเป็นและการแจกแจงความน่าจะเป็น การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน อนุกรมเวลา เลขดัชนี • สมมติฐานเชิงสถิติคืออะไร ? การตั้งสมมติฐาน • แนวคิดในการทดสอบสมมติฐาน • ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมติฐาน • ระดับนัยสำคัญ , p-value • ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน

  4. บทที่ 1 การวิเคราะห์ความแปรปรวน บทนำ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียว การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกสองทาง วัตถุประสงค์ของบท • อธิบายถึงความจำเป็นและแนวคิดในการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนได้ • บอกขั้นตอนและวิธีการทดสอบสมมติฐานโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียว และแบบจำแนกสองทาง ตลอดจนสามารถประยุกต์วิธีการดังกล่าวกับปัญหาด้านต่างๆได้ • อธิบายความหมายของผลการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนได้

  5. คำศัพท์พื้นฐานที่น่าสนใจคำศัพท์พื้นฐานที่น่าสนใจ 1. การวิเคราะห์ความแปรปรวนจำแนกทางเดียว การเปรียบเทียบเชิงซ้อน (Multiple Comparisons Test) 2. การวิเคราะห์ความแปรปรวนจำแนกสองทาง สรุป

  6. One Way One-Way Anova or Single Factor ANOVA 1 2 ใช้กรณีทดลองแบบปัจจัยเดียวแต่มีหลาย level

  7. One Way 1 2

  8. One Way การเปรียบเทียบเชิงซ้อน (Multiple Comparisons Test) เมื่อเราปฎิเสธ Ho … คำถามคือค่าเฉลี่ยคู่ใดบ้างที่ต่างกัน?

  9. เมื่อปฎิเสธ Ho 1 5 2 3 4

  10. 1 2 Two Way

  11. One Way Two Way

  12. บทที่ 2 การวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์ 2.1 บทนำ 2.2 การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย 2.3 การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น 2.4 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ของบท • หาความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณสองตัว • หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เพื่อวัดระดับความสัมพันธ์เชิงเส้น • ทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณสองตัว • หารูปแบบความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณและทำการทำนาย • อธิบายวิธีการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย • หาค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย ทดสอบตัวแบบการถดถอย • พิจารณาคุณภาพของตัวแบบความถดถอย และทำการพยากรณ์ด้วยตัวแบบการถดถอย

  13. บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงจำแนก 3.1 Goodness of fit test 3.2 Chi-square test for independent 3.3 Chi-square test for homogeneity วัตถุประสงค์ของบท • สร้างข้อมูลจำนวนนับและตารางจำแนกสองทางจากข้อมูลตัวอย่าง • ทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม • ทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความเป็นอิสระระหว่างตัวแปรเชิงคุณภาพสองตัว

  14. บทที่ 4 สถิติแบบไม่ใช้พารามิเตอร์ 4.1 บทนำ 4.2 Sign test และ Wilcoxon Signed-Ranks test 4.3 Runs test 4.4 Mann-Whiney U test 4.5 Kruskal- Wallis test กรณีที่ไม่แน่ใจเกี่ยวกับข้อตกลงเบื้องต้น เช่นเรื่อง Distribution ของข้อมูล หรือข้อมูลเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นต้น

  15. บทที่ 5 การวิเคราะห์การตัดสินใจเชิงสถิติ 5.1 บทนำ 5.2 องค์ประกอบของปัญหาการตัดสินใจเชิงสถิติ 5.3 ตัวอย่างของปัญหาการตัดสินใจ 5.4 การตัดสินใจโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น 5.5 การตัดสินใจโดยใช้ความน่าจะเป็นที่มีอยู่ก่อนแล้ว

  16. บทที่ 6 การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ 6.1 บทนำ 6.2 แผนภูมิควบคุมคุณภาพ 6.3 การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

More Related