60 likes | 122 Views
แผนผังการรายงานของเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกระดับอำเภอ ( เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 และ 12 ) แนวทางการดูแลผู้ป่วยสำหรับโรงพยาบาล เมื่อพบผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวัง. โรงพยาบาลทุกแห่ง ในจังหวัด(ภาครัฐและเอกชน). รายงานทันทีที่พบผู้ป่วยต้องสงสัย (ตามแบบ AI.1).
E N D
แผนผังการรายงานของเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกระดับอำเภอ( เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 และ 12 )แนวทางการดูแลผู้ป่วยสำหรับโรงพยาบาล เมื่อพบผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวัง โรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัด(ภาครัฐและเอกชน) รายงานทันทีที่พบผู้ป่วยต้องสงสัย (ตามแบบ AI.1) สอบสวนโรคเบื้องต้น(ตามแบบ AI.2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รายงานทันทีตามแบบ AI.1 ทางโทรศัพท์/โทรสาร ส่งแบบสอบสวนโรค AI.2 ภายใน 24 ชั่วโมง ส่งแบบติดตามผู้ป่วยทุกวันจนจำหน่ายผู้ป่วย รายงานทันทีตามแบบ AI.1 ทางโทรสาร หรือ โทรศัพท์ ส่งแบบสอบสวนโรค AI.2 ภายใน 24 ชั่วโมง สำนักระบาดวิทยาโทรศัพท์ : 0-2590-1882 , 0-2590-1895โทรสาร : 0-2591-8579 , 0-2590-1784E-Mail : outbreak@health.moph.go.th สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6โทรศัพท์ : 0-4322-2818 - 9โทรสาร : 0-4322-6164E-Mail : epid6 @yahoo.com ส่งแบบติดตามผู้ป่วยทุกวัน • นำเสนอสถานการณ์ไข้หวัดนกในคน และสถานการณ์ในสัตว์ผ่านทางinternet http:// dpc6.ddc.moph.go.th. สรุปรายงานสถานการณ์โรคทุกวัน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต 10, 12 โทรศัพท์ : 0-1848-8641(ผู้ประสานงานเขต 10,12)โทรสาร : 0-2591-8527E-Mail : boonlert@hss.moph.go.th, keeree@hss.moph.go.th. http://dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9 www.dpc.7.netโทร 045-245108
รายละเอียดการรักษาและการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการรายละเอียดการรักษาและการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การรักษาด้วยยาต้านไวรัส ผู้ใหญ่ Oseltamivir (Tamiflu)(75 mg) 1 เม็ด เช้า-เย็น หลังอาหาร นาน 5 วัน เด็ก Oseltamivir (Tamiflu) น้ำหนักน้อยกว่า 15 กก. ให้ 30 mg. เช้า-เย็น นาน 5 วัน น้ำหนักตัว 16-23 กก. ให้ 45 mg. เช้า-เย็น นาน 5 วัน น้ำหนักตัว 24-40 กก. ให้ 60 mg. เช้า-เย็น นาน 5 วัน น้ำหนักตัวมากกว่า 40 กก. ให้ 75 mg. เช้า-เย็น นาน 5 วัน • การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ1. Nasopharyngeal Aspiration หรือ Nasopharyngeal Swab ใส่ไว้ใน Viral Transport Media นำส่งในกระติกน้ำแข็งที่มีน้ำแข็ง หรือ Ice pack เพื่อรักษาอุณหภูมิให้ได้ 2 - 4 องศาเซลเซียส และให้ส่งถึงห้องปฏิบัติการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์ วิทยาศาสตร์เขตภายใน 48 ชั่วโมง 2. Clotted Blood 5 มิลลิลิตร(cc.) เก็บ 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อพบผู้ป่วย ครั้งที่สองเก็บหลังจากครั้งแรกอย่างน้อย 14 วันขึ้นไป และให้ส่งถึงห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์เขต ภายใน 48 ชั่วโมง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี โทร.0-4220-7364-6 ต่อ 110โทรสาร 0 – 4220 - 7367 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ขอนแก่น โทร.0-4324-2871-3 โทรสาร 0 – 4324 - 6156 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร.01-9891978, Call Center :9510000-11 (กรุณาติดตาม สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงแนวทางการเฝ้าระวัง การรักษาที่ dpc6.ddc.moph.go.th. โทร 0 – 4322 -2818 - 9 http:// dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9 www.dpc.7.netโทร 045-245108
แผนภูมิ แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่เข้าข่ายเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่ระดับสถานีอนามัย(เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 และ 12 ) ผู้ป่วยไข้(มากกว่า 38oc) + อาการ URI เช่น ไอหรือมีน้ำมูก หรือมีเสมหะ หรือหายใจเร็ว หรือ เหนื่อยหอบ สถานีอนามัย ประวัติสัมผัสสัตว์ปีกป่วย/ตายภายใน 7 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ สัมผัสผู้ป่วยปอดบวมในช่วง10 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีสัตว์ป่วย/ตาย ในช่วง 14 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ จุกคัดกรอง(แยกจากผู้ป่วยทั่วไป) ซักประวัติเสี่ยง ไม่มีประวัติเสี่ยง มีประวัติเสี่ยงข้อใดข้อหนึ่ง Refer ทันที รักษาตามอาการ โรงพยาบาลชุมชน http://dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9
แผนผังการรายงานของเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก ระดับสถานีอนามัย(เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 10และ12) • ประวัติสัมผัสสัตว์ปีกป่วย/ตายภายใน 7 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ สัมผัสผู้ป่วยปอดบวมในช่วง 10 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีสัตว์ป่วย/ตาย ในช่วง 14 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ • ไข้(มากกว่า 38 oc) + อาการ URIเช่น ไอหรือมีน้ำมูก หรือมีเสมหะ หรือหายใจเร็ว หรือ เหนื่อยหอบ ผู้ป่วยเข้าข่ายเฝ้าระวัง สัตว์ปีกป่วย/ตายผิดปกติ หมู่บ้าน ประธานอสม. อสม./อาสาสมัครปศุสัตว์ สถานีอนามัย รวบรวมข้อมูลสัตว์ปีกป่วย/ตาย ตำบล คัดกรองผู้ป่วยสงสัยที่มีประวัติเสี่ยง/น่าจะเป็น Refer ทันที AI.1 ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ(รพช./สสอ.) ประสาน อำเภอ ปศุสัตว์อำเภอ โรงพยาบาลชุมชน AI.1 ศูนย์ระบาดวิทยาจังหวัด(สสจ.) จังหวัด ประสาน ปศุสัตว์จังหวัด AI.1/AI.2/แบบติดตามผู้ป่วยส่ง สคร.6และสำนักระบาด http:// dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9
แนวทางคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่(Pandemic) ระยะเริ่มแรกสำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข(เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 และ 12) ผู้ป่วยเฝ้าระวังในโรงพยาบาล กลุ่มที่ 1 มาด้วยอาการไข้(มากกว่า 38oc) + อาการโรคติดเชื้อ เฉียบพลันระบบหายใจ เช่น ไอหรือมีน้ำมูก หรือมีเสมหะ หรือหายใจเร็ว หรือ เหนื่อยหอบและมีประวัติข้อใดข้อหนึ่ง สัมผัสสัตว์ปีกที่ป่วย/ตาย ในช่วง 7 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ สัมผัสผู้ป่วยปอดบวม ในช่วง 10 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ อาศัยในหมู่บ้านที่มีสัตว์ปีกป่วย ตายผิดปกติ หรือ อยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อH5N1 ในสัตว์ปีก ตามประกาศของกรมปศุสัตว์ในช่วง 14 วันที่ผ่านมา กลุ่มที่ 2 ผู้ป่วยปอดบวมรุนแรง โดยหาสาเหตุไม่ได้ (ที่ต้องนอนโรงพยาบาล)ผู้ป่วยปอดบวมตั้งแต่ 2 รายขึ้นไปที่มีประวัติ เกี่ยวเนื่องกัน (Cluster of Pneumonia Patient) ผู้ป่วยปอดบวมที่เป็นบุคลากรทางการแพทย์ • แผนกเวชระเบียน • คัดกรอง ประวัติผู้ป่วย CXR Rapid Test (for Flu.A & B) เก็บตัวอย่าง Nasopharyngeal Swab และเลือด ส่งตรวจที่กรมวิทย์ฯ หรือศูนย์วิทย์ฯเขต ห้องตรวจแยกผู้ป่วย แพทย์ซักประวัติ ตรวจร่างกาย Investigate อย่างน้อย ดังนี้ Rapid test ผลลบ (CXR ปกติ) Rapid test Flu B + (CXR ปกติ/ปอดอักเสบ) Rapid test Flu A + (CXR ปกติ/ปอดอักเสบ) Rapid test ผลลบ (CXR ปอดอักเสบ) อาการรุนแรง อาการไม่รุนแรง * ให้การรักษาตามแนวทางปกติ* ให้กลับบ้านดูแลตนเอง* แนะนำข้อปฏิบัติตัว ติดตาม ผลการรักษา* นัดติดตามผลการรักษา หลังจำหน่าย 48 ชั่วโมง * Admit ห้องแยก* ให้ Antiviral Rx* รักษาตามอาการอย่างใกล้ชิด* นัดติดตามผลการรักษาหลัง จำหน่าย 48 ชั่วโมง * ให้ Antiviral* รักษาตามความเหมาะสม* นัดติดตามผลการรักษาหลัง จำหน่าย 48 ชั่วโมง * Admit ห้องแยก * รักษาตามแนวทางปฏิบัติ และ * พิจารณาให้ Antiviral RX ตามความเหมาะสม * นัดติดตามผลการรักษาหลังจำหน่าย 48 ชั่วโมง http://dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9
แนวทางการดำเนินงานในชุมชนเมื่อมีรายงานผู้ป่วยที่เข้าข่ายเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่/พื้นที่ที่มีสัตว์ปีกตายผิดปกติ(เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 และ 12 ) พื้นที่ที่มีรายงานผู้ป่วย พื้นที่ที่มีรายงานสัตว์ปีกป่วย/ ตายผิดปกติแต่ไม่มีรายงานผู้ป่วย อาการไม่รุนแรง ประวัติสัมผัสไม่ชัดเจน ผู้ป่วยมีไข้หรือPuemonia มีประวัติเสี่ยงชัดเจน *ศวรประสานข้อมูลกับประศุสัตว์ในพื้นที่ *ประสานงานกับสถานบริการในพื้นที่ เพื่อเฝ้าระวังในคน และรายงานสสจ. ทันที่ที่พบผู้ป่วยเข้าข่ายเฝ้าระวังตามแบบรายงาน AI1 และรายงานสคร.ในลำดับต่อไป • ศวร.จังหวัด ประสานกับสสจ. • ออกสอบสวนติดตาม • ผู้สัมผัสร่วมบ้าน • ประสานกับปศุสัตว์ในพื้นที่ • ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค สคร. ออกสอบสวน ติดตาม ผู้ป่วยร่วมกับสวร.จังหวัด และ SRRT ในพื้นที่ http://dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9