920 likes | 1.16k Views
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ ตามแนวทางการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ. สมคิด แหวนเพ็ชร สำนักงานคลังเขต 6 พิษณุโลก 13 สิงหาคม 2557. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาพัสดุ. หลักการบริหารพัสดุ. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ. ความหมาย ระเบียบฯ ข้อ ๕.
E N D
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ ตามแนวทางการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ สมคิด แหวนเพ็ชร สำนักงานคลังเขต 6 พิษณุโลก 13 สิงหาคม 2557
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาพัสดุ
หลักการบริหารพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ความหมาย ระเบียบฯ ข้อ ๕ พัสดุ คืออะไร วัสดุ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ ความหมาย-พัสดุ-เป็นไปตามหลักการจำแนกประเภทรายจ่ายของ สำนักงบประมาณ(ด่วนที่สุด ที่นร๐๗๐๔/ว ๓๓ ลว.๑๘ ม.ค.๒๕๕๓)
เงินงบประมาณ ที่จะนำมาใช้กับการจัดซื้อจัดจ้างจึงได้แก่ เงินที่รมต.ว่าการกระทรวงการคลังอนุญาตให้ไม่ต้องนำส่งคลัง เช่น เงินรายได้สถานศึกษา เงินงบประมาณรายจ่าย เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ประจำปี งบจังหวัด เงินกู้ ที่ กค. กู้จากต่างประเทศ งบกลุ่มจังหวัด
เงินนอกงบประมาณ ไม่อยู่ในบังคับจัดหาตามระเบียบฯพัสดุนี้ เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย เงินบำรุง/ เงินบริจาค เงินกองทุน
บุคลากรในการจัดหาพัสดุ มี ๒ ส่วน ๑.ผู้มีอำนาจ ๒.ผู้มีหน้าที่ เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการต่างๆ ผู้ควบคุมงาน ๑.๑ อำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุ ๑.๒ อำนาจอนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้าง
อำนาจที่ ๑ ผู้มีอำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุ (ข้อ ๙) ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง/อธิบดี /ที่เรียกชื่ออย่างอื่น/ผู้ว่าราชการจังหวัด • เว้นแต่ เจ้าของอำนาจได้มอบให้ผู้ว่าฯ • ผู้ว่าฯ สามารถมอบต่อไปให้รองผู้ว่าฯ ผู้ช่วยผู้ว่าฯ หรือ หส.ราชการ อีกก็ได้ • และจะมอบอำนาจต่อไป • ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งใดอีกก็ได้ • โดยให้คำนึงถึง ระดับตำแหน่ง /หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นสำคัญ • ผู้ได้รับมอบอำนาจ มีหน้าที่ต้องรับมอบอำนาจ • จะมอบอำนาจนั้นต่อไปอีกไม่ได้
วงเงินวิธีตกลงราคา/ สอบราคา/ประกวดราคา (ข้อ ๖๕)ได้แก่ หส.ราชการไม่เกิน ๕๐ล้าน ปลัดกระทรวง เกิน ๕๐ ไม่เกิน ๑๐๐ ล้าน - รัฐมนตรี เกิน ๑๐๐ ล้าน วิธีพิเศษ(ข้อ ๖๖)ได้แก่ -หส.ราชการไม่เกิน ๒๕ ล้าน -ปลัดกระทรวง เกิน ๒๕ แต่ ไม่เกิน ๕๐ ล้าน -รัฐมนตรี เกิน ๕๐ ล้าน วิธีกรณีพิเศษ(ข้อ ๖๗) -หส.ราชการ ไม่จำกัดวงเงิน • อำนาจที่ ๒“ผู้มีอำนาจอนุมัติให้สั่งซื้อ /สั่งจ้าง” • ใช้กับกรณีเมื่อหาตัวผู้ขาย หรือรับจ้าง ได้แล้ว • ให้พิจารณาจากวงเงินที่ได้จากผลชนะราคาตามวงเงินดังนี้
ผู้มีหน้าที่ตามระเบียบฯพัสดุ ได้แก่ เจ้าหน้าที่พัสดุ/ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ/คณะกรรมการต่างๆ/ และผู้ควบคุมงาน
๑.เจ้าหน้าที่พัสดุ (ข้อ๕) แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๙ ๒.หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ (ข้อ ๕) โดยตำแหน่ง (ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับพัสดุ) โดยแต่งตั้ง -ข้าราชการ/พ.ราชการ/ พ.มหาวิทยาลัย/ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว โดยตำแหน่ง-ผอ.กองพัสดุ/หฝ./หน.งานพัสดุ โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ/พ.มหาวิทยาลัย ผู้มีหน้าที่ในการจัดหาพัสดุ(ต่อ) • โดยแต่งตั้ง ใช้กับกรณีไม่มีเจ้าหน้าที่พัสดุหรือหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุหรือมีไม่เพียงพอ หรือกรณีจะกระจายอำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุไปให้หน่วยงานในสังกัดดำเนินการเอง
คณะกรรมการต่าง ๆการซื้อ/การจ้างแต่ละครั้ง หัวหน้าส่วนราชการจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ ให้ทำหน้าที่ ตามที่ระเบียบฯพัสดุกำหนดทุกครั้ง
คณะกรรมการในการซื้อ/จ้างคณะกรรมการในการซื้อ/จ้าง • คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ห้ามเป็น คกก. ตรวจรับฯ) • คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา (ห้ามเป็น คกก.พิจารณาผลฯ) • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา (ห้ามเป็น คกก. ตรวจรับฯ) • คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • คณะกรรมการตรวจการจ้าง • คณะกรรมการกำหนดราคากลาง(มติคณะรัฐมนตรี)
ได้เวลาแสดงฝีมือแล้ว ข้าพเจ้า... ...จะทำหน้าที่ให้ดีที่สุด คราวหน้า ...จะได้แต่งตั้งเราอีก
ทำไงดี.. ? เซ็ง..! ? ! WHY me ? !
องค์ประกอบของคณะกรรมการองค์ประกอบของคณะกรรมการ • ประธาน 1 คน • กรรมการอื่นอย่างน้อย 2 คน • แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ ** ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ ** ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน 2 คน ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้ (ปรับปรุงตามระเบียบฯ ฉบับที่ 7 พ.ศ. (2552) )
องค์ประกอบของคณะกรรมการ (ต่อ) • กวพ. อนุมัติให้ส่วนราชการสามารถแต่งตั้งลูกจ้างประจำของส่วนราชการเป็นกรรมการ ตามระเบียบฯ โดยการแต่งตั้งลูกจ้างประจำ จะต้องคำนึงถึงความรู้ ความสามารถ ลักษณะงาน • หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ • (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 417 ลว. 22 ตค. 53) • ** การแต่งตั้งคณะกรรมการจะต้องแต่งตั้งเป็นครั้ง ๆ ไป • (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ)
กรณี การซื้อ / จ้าง ไม่เกิน 10,000 บาท (ระเบียบฯ ข้อ 35 วรรคท้าย) ให้แต่งตั้งข้าราชการ / ลูกจ้างประจำคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่ ผู้จัดซื้อหรือจัดจ้าง เป็นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างนั้น กวพ. อนุมัติผ่อนผันการแต่งตั้ง พนักงานราชการ พนักงาน มหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ เป็นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้าง (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 341 ลว. 20 กย. 53)
การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ - ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง และประธานจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง องค์ประชุม - ถือเสียงข้างมาก - ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียง เพิ่มอีก 1 เสียง มติกรรมการ ยกเว้น - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ต้องใช้มติเอกฉันท์
วิธีการลงมติของคณะกรรมการต่างๆวิธีการลงมติของคณะกรรมการต่างๆ • หลักการ ระเบียบฯ ข้อ ๓๖ กำหนดให้วันลงมติ • ประธาน/และกรรมการ ต้องมาประชุมลงมติ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวนกรรมการทั้งหมด กรรมการคนใด ที่ไม่เห็นด้วยกับมติของคณะกรรมการ -ให้ทำบันทึกความเห็นแย้งไว้ด้วย เว้นแต่ คกก.ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง ให้ถือมติเอกฉันท์ การลงมติ ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าเท่ากัน ให้ประธานออกเสียงเพิ่มขึ้น อีกหนึ่งเสียงชี้ขาด
ผู้ควบคุมงาน (ข้อ ๓๗) • และหนังสือเวียน กระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓ /ว ๓๔๑ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๓ • การจ้างก่อสร้างแต่ละครั้ง หัวหน้าส่วนราชการจะต้องแต่งตั้งผู้มีความรู้ /ความชำนาญทางด้านช่าง ในงานนั้นๆ ไม่ต่ำกว่า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. ) แต่งตั้งจาก ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือ พนักงานของรัฐ • ในสังกัด หรือจากสังกัดอื่นโดยได้รับความยินยอมจากหัวหน้าส่วนราชการของผู้นั้น
อัตราการจ่ายค่าตอบแทนอัตราการจ่ายค่าตอบแทน • ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง • กรณีส่วนราชการได้แต่งตั้งข้าราชการ หรือลูกจ้างประจำ หรือพนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย เป็นผู้ควบคุมงาน • *ให้จ่ายได้ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด ที่ กค๐๔๐๖.๔/ว ๑๘ ลว.๒๗ ก.พ.๒๕๕๑) • หัวหน้าผู้ควบคุมงาน วันละ ๓๕๐ บาท • ผู้ควบคุมงาน วันละ ๓๐๐ บาท • บุคคลภายนอกที่มิใช่บุคลากรของรัฐ • - ให้เพิ่มจากอัตราที่กำหนดข้างต้นอีกหนึ่งเท่า
การแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลางงานจ้างก่อสร้าง ทุกครั้ง/ทุกวิธี/ทุกวงเงิน ให้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ จากข้าราชการเพื่อคำนวณราคาค่าก่อสร้างนำไปใช้เปรียบเทียบราคาของผู้เสนอราคา(มติครม.๖ก.พ. ๒๕๕๐) • ราคากลาง หมายถึง ราคาค่าก่อสร้างในงานก่อสร้างของทางราชการในแต่ละงาน/โครงการ ซึ่งได้จากการประเมิน หรือคำนวณตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะรัฐมนตรีกำหนด • ซึ่งเป็นราคาที่ทางราชการยอมรับได้ ไม่สูงจนผู้ประกอบกอบการได้กำไรมากเกินกว่าที่ควรได้รับ และไม่เป็นราคาที่ต่ำจนผู้ประกอบการไม่สามารถที่จะดำเนินการก่อสร้างได้ • ดังนั้น ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการจึงไม่ไช่ราคามาตรฐานของงานก่อสร้างแต่เป็นราคาที่ได้จากการคำนวณตามหลักเกณฑ์ • ให้ทำบันทึกส่งสตง.หากผลประกวดราคามีราคากลางที่กำหนดไว้สูง/ ต่ำกว่าราคาที่ประกวดราคาได้เกิน ๑๕% ขึ้นไป
วิธีการจัดหา วิธีตกลงราคา วงเงินงบประมาณไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท วิธีสอบราคา วงเงินงบประมาณไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท วิธีประกวดราคา วงเงินงบประมาณเกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท วิธีพิเศษ วงเงินงบประมาณเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่มีเงื่อนไข วิธีกรณีพิเศษ ไม่กำหนวงเงิน แต่มีเงื่อนไข วิธี e-Auction วงเงินงบประมาณตั้งแต่๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ขึ้นไป
วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ พัสดุที่จะจัดหาเป็นประเภทเดียวกันหรือไม่ พิจารณาจากความต้องการของผู้ใช้ พัสดุว่าต้องการใช้พร้อมกันหรือไม่ แนวทางการพิจารณาเรื่องแบ่งซื้อแบ่งจ้าง
เหตุที่ห้ามแบ่งซื้อ /แบ่งจ้าง(มติกวพ.มิ.ย.๓๑) เนื่องจากการจัดหาพัสดุ คราวละจำนวนมากๆ จะทำให้มีการแข่งขันราคาอย่างเสรี /ทางราชการจะได้ประโยชน์สูงสุด • ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ • คัดเลือกพัสดุใดที่มีลักษณะพัสดุประเภทเดียวกัน/อยู่ในกลุ่มผู้ค้าประเภทเดียวกัน มีความต้องการในการใช้พัสดุในระยะเวลาเดียวกัน วิธีปฏิบัติ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรมาในโครงการหนึ่งๆมีพัสดุหลายประเภท “ก็ควรให้ดำเนินการจัดหาในคราวเดียวกัน” หากเป็นสินค้า/กลุ่มผู้ค้า/ต่างประเภทกัน จะจัดหารวมในครั้งเดียวกันโดยตัดสินแยกแต่ละรายการ ก็ได้ หรือ จะแยกไปจัดหาต่างหากก็ได้ โดยให้เหตุผลแนบไว้ในรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง
ในกรณีการรวมจัดซื้อพัสดุประเภทเดียวกันในกรณีการรวมจัดซื้อพัสดุประเภทเดียวกัน • วิธีปฏิบัติ (๑)กรณีพัสดุที่จัดซื้อ เป็นประเภทชนิดเดียวกันแม้ต่างขนาด ต่างราคากัน ควรรวมการจัดซื้อในคราวเดียวกัน • หากความต้องการใช้งานรวมทั้งปี มีวงเงินเกินกว่า ๑๐๐.๐๐๐ บาทแล้วหน่วยงานก็จะต้องดำเนินการสอบราคาหรือประกวดราคา วิธีปฏิบัติ(๒) เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ทั้งในการเก็บรักษา หรือควบคุมคุณภาพและปริมาณของพัสดุที่จัดซื้อ • หน่วยงานสามารถกำหนดเงื่อนไขการจัดซื้อ โดยใช้สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณเพื่อออกใบสั่งซื้อเป็นคราว ๆ ให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานจริง ของแต่ละช่วงเวลาได้
ลักษณะของ สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ เป็นสัญญาที่กวพ.กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้กับการซื้อขายที่มีราคาพัสดุต่อหน่วยที่คงที่ แน่นอนตลอดอายุสัญญา แต่การจัดซื้อตามสัญญา ผู้ซื้อจะทะยอยการสั่งซื้อตามความต้องการของผู้ซื้อ/ผู้ขายสัญญาว่าจะเตรียมพัสดุไว้ให้เพียงพอตามจำนวนที่ได้ประมาณการไว้ในสัญญา โดยมีวงเงินตามสัญญา ประมาณไว้ไม่เกินกว่าวงเงินที่ดำเนินการจัดหาในครั้งนั้น
วิธีปฏิบัติ ก่อนการจัดหาพัสดุแต่ละวิธี -ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ จัดทำบันทึกรายงานขอซื้อ/ ขอจ้าง เสนอขอความเห็นชอบต่อ หัวหน้าส่วนราชการก่อนทุกครั้ง(ระเบียบฯ ข้อ ๒๗)
รายงานขอซื้อหรือขอจ้าง (ข้อ 27) ** ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง** หลักการ รายละเอียดของรายงาน - เหตุผลความจำเป็น - รายละเอียดของพัสดุ - ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี - วงเงินที่จะซื้อ/จ้าง - กำหนดเวลาที่ต้องใช้ - วิธีจะซื้อ/จ้าง • - ข้อเสนออื่นๆ * การแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ * การออกประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา
การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา วงเงินไม่เกิน ๑ แสนบาท (วิธีการอยู่ในระเบียบฯ ข้อ ๓๙)
การซื้อ/จ้างโดยวิธีตกลงราคา(ข้อ ๓๙วรรคแรก) (กรณีปกติ) มีวิธีปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ ๑.สำรวจ/รวบรวมความต้องการพัสดุ กำหนด Spec ๔.ให้จนท.พัสดุไปติดต่อตกลงราคากับผู้ขาย/รับจ้าง -แจ้งผลต่อหน.จนท.พัสดุ ๒.จนท.พัสดุ จัดทำบันทึกรายงานขอซื้อ/จ้าง(ข้อ ๒๗) ๕.ให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ออกใบสั่งซื้อ/ใบสั่งจ้าง ๓.เสนอขอความเห็นชอบต่อหัวหน้าส่วนราชการ ๖.ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ส่งมอบของ/งาน ๓.หัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบรายงานที่เสนอ(ข้อ๒๙) ๗.คกก.ตรวจรับพัสดุ/เบิกเงินชำระค่าสินค้า/งาน ต่อไป
ข้อสังเกต การซื้อ/จ้างโดยวิธีตกลงราคา หัวหน้าส่วนราชการไม่ต้องมอบอำนาจลงนามผูกพันสัญญาหรือข้อตกลงให้แก่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุอีกแต่อย่างใด เหตุผล เนื่องจากระเบียบฯข้อ ๓๙ วรรคแรกได้กำหนดให้ถือเป็นหน้าที่ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ เป็นผู้ลงนามในสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ(ใบสั่งซื้อ/ใบสั่งจ้าง) ได้โดยตรงเป็นการเฉพาะอยู่แล้ว ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อลดขั้นตอนการดำเนินงานในเกิดความรวดเร็วยิ่งขึ้น ในกรณีวงเงินไม่สูง แนววินิจฉัยของกวพ.ครั้งที่ ๔๕/๒๕๕๓ เมื่อ ๑๑ พ.ย.๒๕๕๓
การซื้อ/จ้าง วิธีตกลงราคา ที่มีความจำเป็นเร่งด่วน ไม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้าได้ (ข้อ๓๙วรรค ๒) • ใช้กับกรณีจำเป็น/เร่งด่วน/ที่ไม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้า โดยให้ทำรายงานขอซื้อ/จ้างภายหลังได้ • วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ (๑) • -ให้จนท.พัสดุ/จนท.ผู้รับผิดชอบ ในการปฏิบัติงานนั้น จัดซื้อ/จ้างไปก่อนได้ ขั้นตอนที่(๒) -ให้จัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง ขอความเห็นชอบหัวหน้าส่วนราชการในภายหลัง โดยมีสาระสำคัญเท่าที่จำเป็น ขั้นตอนที่(๓) -ให้ใช้รายงานที่หัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบนั้นเป็น หลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม
วันประกาศห่างจากวันปิดรับซอง ไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน เริ่มต้นรับซองนับตั้งแต่วันประกาศ วันปิดรับซอง จะต้องห่างจากวันเริ่มต้นรับซองไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน ... ?... วัน คำนึงถึงตรวจฮั้ว วันประกาศ รับซองอย่างน้อย ๑๐ วัน วันรับซอง ปิดรับซอง เปิดซอง การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (๑) ข้อ 27 เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ข้อ 29 - ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า 10 วัน / นานาชาติ ไม่น้อยกว่า 45 วัน - ส่งประกาศ + เอกสารสอบราคา ให้ผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้างโดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้มากที่สุด - ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทำการโดยเปิดเผย จัดทำประกาศ (ข้อ 40) เผยแพร่เอกสาร
การกำหนดคุณสมบัติของผู้รับจ้างการกำหนดคุณสมบัติของผู้รับจ้าง ยกตัวอย่าง กรณีโครงการก่อสร้างซึ่งมีวงเงินงบประมาณ 100 ล้านบาท ตามแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานราชการจะกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้าเสนอราคาครั้งนั้นได้ ดังนี้ • ต้องเป็นผู้มีอาชีพรับจ้างงานที่ประกวดราคาจ้าง • ต้องไม่เป็นผู้ที่ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงานของทางราชการและได้แจ้งเวียนชื่อแล้ว หรือไม่เป็นผู้ที่ได้รับผลของการสั่งให้นิติบุคคลหรือบุคคลอื่นเป็นผู้ทิ้งงานตามระเบียบของทางราชการ คุณสมบัติทั่วไป 36
คุณสมบัติทั่วไป 3. ต้องไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้เสนอราคารายอื่น ณ วันประกาศประกวดราคา หรือไม่เป็นผู้มีการกระทำอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม 4. ต้องไม่เป็นผู้ได้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกัน ซึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้นศาลไทย เว้นแต่รัฐบาลของผู้เสนอราคาได้มีคำสั่งให้สละสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นว่านั้น • ต้องเป็นผู้ผ่านการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้นในการจ้างของกรม • ต้องเป็นนิติบุคคลและมีผลงานก่อสร้างประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้างในวงเงินไม้น้อยกว่า…..ล้านบาท (ควรกำหนดไม่เกินร้อยละ 50)และเป็นผลงานที่เป็นคู่สัญญาโดยตรงกับส่วนราชการ หน่วยงานอื่นของรัฐ หรือหน่วยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ คุณสมบัติพิเศษซึ่งต้องเลือกใช้ตามความจำเป็นของงานก่อสร้างแต่ละครั้ง 37
- ผู้เสนอราคาจะต้องผนึกซองจ่าหน้าถึง ประธานกรรมการ การยื่นซอง - ยื่นซองด้วยตนเอง / ทางไปรษณีย์ (กรณีที่กำหนดไว้) - เจ้าหน้าที่รับโดยไม่เปิดซอง การรับซอง - ระบุวันและเวลารับซอง - ส่งมอบซองให้แก่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทันที • หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุส่งให้ คกก.เปิดซองสอบราคาในวันเปิดซอง การเก็บรักษาซอง - หนังสือเวียน ด่วนมาก ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42 ให้ส่งมอบโดยพลัน หลังครบกำหนดรับซอง การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (๒)
ตัวอย่าง: ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน เชิงบริหาร เชิงทุน เชิงไขว้
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (๓) คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42) ขั้นที่ 1ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + ประกาศชื่อผู้มีสิทธิได้รับการคัดเลือก ขั้นที่ 2 เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + อ่านแจ้งราคา บัญชีรายการเอกสารหลักฐาน + ลงชื่อกำกับ ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา แคตตาล็อกหรือแบบรูปรายการละเอียด แล้วคัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (๓) ขั้นที่ 3คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างที่ผ่านขั้นตอนที่ 2 ที่มีคุณภาพและคุณสมบัติเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ ** หนังสือ ที่ นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 14 ก.ค. 29 การคัดเลือกคุณภาพและคุณสมบัติดังกล่าว มุ่งหมายถึง การพิจารณาจากเกณฑ์ในส่วนที่ ไม่สามารถกำหนดไว้เป็นเงื่อนไขในประกาศ ** ข้อสังเกต รายที่เลือกไม่ยอมเข้าทำสัญญา ให้พิจารณารายต่ำถัดไป ราคาเท่ากันหลายราย ให้ผู้ที่เสนอราคาดังกล่าวยื่นซองใหม่ ถูกต้องตามเอกสารสอบราคารายเดียว ให้ดำเนินการตามขั้นที่ 3 โดยอนุโลม ขั้นที่ 4เสนอให้ซื้อหรือจ้างจากรายที่คัดเลือกไว้แล้วซึ่งเสนอราคาต่ำสุด ขั้นที่ 5รายงานผลและความเห็น ต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั่งการ
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (๔) กรณีเกินวงเงิน (ข้อ 43) • เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงินหรือสูงกว่าไม่เกิน 10 % • ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ • ถ้าไม่ได้ผลอีก ให้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อ • ** ขอลดรายการ ลดจำนวน หรือลดเนื้องาน • ** ขอเงินเพิ่มเติม • ** ยกเลิกการสอบราคา
(กรณีศึกษา) วิธีสอบราคา หากมีผู้เสนอราคารายเดียว/หรือมีสิทธิเสนอราคารายเดียว จะมีคำสั่งยกเลิกการสอบราคาครั้งนี้ได้หรือไม่? • มติกวพ.ครั้งที่ ๓/๕๕ หากคณะกรรมการเปิดซองสอบราคา พิจารณาตามระเบียบฯข้อ ๔๒(๔) แล้วเห็นว่า มีผู้เสนอราคาที่มีสิทธิเสนอราคาที่ถูกต้องเพียงรายเดียว และเห็นว่าไม่มีการแข่งขันราคา ซึ่งจะทำให้ไม่เป็นประโยชน์แก่ราชการ หากจะดำเนินการต่อไป • คณะกรรมการฯจึงเสนอว่าควรยกเลิกการสอบราคา ซึ่งต่อมาหัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบตามความเห็นของคณะกรรมการ และได้มีคำสั่งยกเลิก โดยแสดงเหตุผลสนับสนุนไว้ในท้ายคำสั่งประกาศยกเลิกก็ได้ • คำสั่งยกเลิกการประกาศสอบราคา เป็นคำสั่งทางปกครอง ที่ต้องทำเป็นหนังสือ โดยระบุเหตุผลไว้ในคำสั่งหรือเอกสารแนบท้ายด้วย
วิธีตรวจสอบการขัดขวางการแข่งขันราคากันอย่างเป็นธรรม (ข้อ๑๕ ฉ) ได้แก่ - กระทำการโดยสมยอมกัน/โดย ๑) ให้/ขอให้/รับว่าจะให้ -เงิน/ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด ๒) หรือ โดยข่มขู่/ใช้กำลังประทุษร้าย ๓) ทุจริต/แสดงเอกสารเท็จ เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิใช่ธุรกิจปกติ • หากตรวจพบก่อน/ขณะเปิดซองสอบ/ประกวดราคาให้ตัดรายชื่อออก และแจ้งให้ผู้นั้นทราบ /แจ้งหส.ราชการเพื่อให้เสนอปลัดกระทรวงสั่งเป็นผู้ทิ้งงานตามระเบียบข้อ ๑๔๕
ข้อสังเกต วิธีสอบราคา -- -ไม่มีการขายเอกสารสอบราคา-และไม่มีการวางหลักประกันซอง -ให้แจกจ่าย/หรือให้เอกสารได้ ตั้งแต่วันที่ลงประกาศสอบราคา -กำหนดวันยื่นซอง ถึงวันปิดรับซองต้องไม่น้อยกว่า ๑๐วัน -จะกำหนดให้ยื่นซองสอบราคาทางไปรษณีย์ก็ได้ -ผู้รับซองได้แก่จนท.งานสารบรรณ/หรือผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้รับซองโดยเฉพาะ -เมื่อรับซองแล้วให้ส่งให้หัวหน้าจนท.พัสดุ เก็บรักษาไว้ -เมื่อปิดรับซองให้หน.จนทพัสดุทำบันทึกส่งคกก.เปิดซองสอบราคา -หากมีผู้เสนอราคามีคุณสมบัติถูกต้องรายเดียว -ให้ตรวจสอบคุณภาพของสิ่งของ/ว่า มีคุณภาพ/คุณสมบัติและ เป็นประโยชน์ต่อราชการหรือไม่ -หากเห็นว่าสมควรซื้อ/จ้างจากรายเดียวนั้น ก็ให้ดำเนินการต่อไป ได้ โดยไม่ต้องยกเลิกการสอบราคา
ขั้นตอนการประกวดราคา จัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง และแต่งตั้ง คณะกรรมการ (ข้อ ๒๗) จัดทำเอกสาร ประกวดราคา (ข้อ ๔๔) การประกาศเผยแพร่การประกวดราคา (ข้อ ๔๔, ๔๖) การขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง (ข้อ ๖๕) การพิจารณาผลการประกวดราคา (ข้อ ๕๐) การรับและเปิดซอง (ข้อ ๔๙) การทำสัญญา (ข้อ ๑๓๒-๑๓๓) ตรวจรับ
ปัญหาและแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษปัญหาและแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ ผมผิดตรงไหน ทำไมใครๆ ก็โทษผม
หากท่านต้องรับบท เป็นนักบินอวกาศ ในเรื่องนี้ ท่านจะรู้สึกอย่างไร ? เมื่อต้องใช้ยานอวกาศ ที่รัฐบาลจัดซื้อมาจาก บริษัทที่เสนอราคาต่ำสุด
การซื้อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษ จำเป็นต้องมีเหตุผลประกอบทุกครั้งหรือไม่ ? ในการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ ผู้ดำเนินการจัดหาและเจ้าหน้าที่พัสดุจะต้องระบุเหตุผลและความจำเป็นที่ต้องซื้อ รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อและเหตุผลความจำเป็นที่จะต้องซื้อโดยวิธีพิเศษ เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อให้ความเห็นชอบ ให้การจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ ตามระเบียบฯ ข้อ ๒๗ ให้ชัดเจน หนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๑๑๗๐ ลงวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
สรุปขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง โดยวิธีกรณีพิเศษ ๑. ขออนุมัติดำเนินการจัดซื้อ/ จัดจ้าง โดยวิธีกรณีพิเศษ และแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจงานจ้าง ๒. ติดต่อตกลงราคากับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ๔. ส่งมอบพัสดุ/ส่งมอบงาน ๓. จัดทำใบสั่งซื้อหรือสัญญาซื้อขาย/ใบสั่งจ้างหรือสัญญาจ้าง ๕. ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง