1.11k likes | 1.28k Views
อธิบายพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวคิด ปัญญานิยม. ธรรมชาติของมนุษย์(ผู้นำ)ในทัศนะของนักจิตวิทยา. “ มนุษย์จะดีหรือเลวขึ้นอยู่กับการปรับตัวในสภาพแวดล้อม มนุษย์เป็นผู้มีสติปัญญา ”. Atkinson. ข้อมูลที่ชี้ว่ามี STM แยกจาก LTM. มิลเนอร์ ( Milner, 1967, 1970).
E N D
อธิบายพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวคิดอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวคิด ปัญญานิยม
ธรรมชาติของมนุษย์(ผู้นำ)ในทัศนะของนักจิตวิทยาธรรมชาติของมนุษย์(ผู้นำ)ในทัศนะของนักจิตวิทยา “ มนุษย์จะดีหรือเลวขึ้นอยู่กับการปรับตัวในสภาพแวดล้อม มนุษย์เป็นผู้มีสติปัญญา ”
ข้อมูลที่ชี้ว่ามี STM แยกจาก LTM มิลเนอร์ (Milner, 1967, 1970) 1. ข้อมูลที่ได้จากผลการศึกษาด้านการผ่าตัด ข้อมูลประเภทนี้ได้จากรายงานที่ว่า H.M. จำสิ่งใหม่ ๆ ได้ไม่นานจะลืมหายไปนั้น ก็ทำให้สันนิษฐานว่าสิ่งที่เข้าไปใหม่นั้นไม่ได้ผ่านไปสู่ LTM ทั้งนี้ก็เพราะฮิปโปแคมบัสได้รับอันตราย สิ่งที่จะจำจึงน่าจะผ่านความจำระยะสั้น STM ก่อนแล้วจึงถึง LTM โดยผลที่ได้มาจากผลของการผ่าตัดสมอง 2. ข้อมูลที่ได้จากการทดลอง ข้อมูลที่ได้จากการทดลองเป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับพฤติกรรมเพียงอย่างเดียว โดยการทดลองที่สนับสนุนว่ามีความจำอยู่สองระบบก็คือการทดลองเกี่ยวกับการเสนอสิ่งเร้าให้จำเป็นชุด ๆ แล้วให้ระลึกอย่างเสรี นำผลการระลึกไปจุดกราฟตามตำแหน่งของสิ่งเร้าที่ให้จำ ซึ่งเรียกกราฟอันนั้นว่า โค้งลำดับที่
1 เท่า 3 วินาที 2 เท่า 6 วินาที 100 3 เท่า 9 วินาที (3) (1) (2) 75 อัตราส่วนของคำที่ระลึกได้ 50 25 1 5 10 15 20 ตำแหน่งของคำที่เสนอ
ความเชื่อเกี่ยวกับความจำความเชื่อเกี่ยวกับความจำ 1. ความจำเป็นโครงสร้าง ( Structure of Memory ) 2. ความจำเป็นกระบวนการต่อเนื่อง ( Level of Processing )
SM: Sensory Memory : ความจำการรู้สึกสัมผัส - จำนาน 1 วินาที - ความจุ 4 หน่วย - ประเภทของความจำ Iconic Echoic Enactive
STM : Short Term Memory - ความจุ 7 2 หน่วย - จำนาน 30 วินาที - ชนิดของการเข้ารหัส - ภาพ - เสียง - ความหมาย LTM : Long Term Memory - ความจุ - ไม่จำกัด - ไม่จำกัด - เวลา
(Craik&Lockhart 1972) - ความจำเป็นระดับ ลึก , ตื้น - ถ้ามีการทบทวนอย่างละเอียดและลึกลงไปจะจำได้ ตัวอย่าง Collins & Quillian 1969 ให้อ่านประโยค 3 ประโยค แล้วตอบว่า จริง , ไม่จริง
1400 นกขมิ้นเป็นสัตว์ 1300 นกขมิ้นคือนก 1200 1100 นกขมิ้นคือนกขมิ้น 1000 900 0 1 2 ระดับประโยคที่เป็นจริง 1. นกขมิ้นเป็นนกขมิ้น 2. นกขมิ้นเป็นนก 3. นกขมิ้นเป็นสัตว์
Dual – Coding Theory : ทฤษฎีรหัสคู่ ดอกไม้ หนู LTM เข้ารหัสเป็นภาพ
เข้ารหัสโดยใช้ภาษาธรรมชาติเป็นตัวกลางเข้ารหัสโดยใช้ภาษาธรรมชาติเป็นตัวกลาง NLM : Natural Language Mediator ตัวอย่าง คำไร้ความหมาย CVC : พยัญชนะ – สระ - พยัญชนะ LOV – LOVE WOD – WOOD PYM – PAYMENT JYZ – JAZZ
Recognition : ความจำที่เกิดขึ้นเมื่อเห็นสิ่งเร้านั้นอีกครั้งหนึ่ง
A - B A ร้อยละของการประหยัด = 100 x Relearning A : จำนวนรอบที่เรียนครั้งแรกและจำได้ทั้งหมด B : จำนวนรอบที่เรียนครั้งหลังและจำได้ทั้งหมด
Cognitive: the most-used of the domains, refers to knowledge structures (although sheer “knowing the facts” is its bottom level). It can be viewed as a sequence of progressive contextualisation of the material. (Based on Bloom,1956)
Affective: the Affective domain has received less attention, and is less intuitive than the Cognitive. It is concerned with values, or more precisely perhaps with perception of value issues, and ranges from mere awareness (Receiving), through to being able to distinguish implicit values through analysis. (Kratwohl, Bloom and Masia (1964))
Psycho-Motor: Bloom never completed work on this domain, and there have been several attempts to complete it. One of the simplest versions has been suggested by Dave (1975): it fits with the model of developing skill put forward by Reynolds (1965), and it also draws attention to the fundamental role of imitation in skill acquisition.
แนวคิดของ JEAN PIAGET Piagetนักจิตวิทยาผู้นำของกลุ่มนี้ได้อธิบายถึงเรื่องของพัฒนาการทางสติปัญญาอันเป็นรากฐานของการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ว่า ประสบการณ์ในการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดพัฒนาการทางสติปัญญาขึ้น การพัฒนาด้านสติปัญญา และความคิดจะเริ่มจากการมีปฏิสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องระหว่างบุคคลและสิ่งแวดล้อม แต่บุคคลมีพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน ฉะนั้นพัฒนาการทางสติปัญญาจึงแตกต่าง