370 likes | 715 Views
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคม อาเซียน. โดย นายแพทย์ สุวัฒน์ กิตติดิลกกุล ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ 20 พฤษภาคม 2556. คำขวัญ AEC. : One Vision, One Identity, One Community
E N D
บุคลากรสาธารณสุขรู้ทันประชาคมอาเซียนบุคลากรสาธารณสุขรู้ทันประชาคมอาเซียน โดย นายแพทย์สุวัฒน์ กิตติดิลกกุล ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ 20 พฤษภาคม 2556
คำขวัญ AEC : One Vision, One Identity, One Community หนึ่งวิสัยทัศน์, หนึ่งเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม วันอาเซียนตรงกับวันที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี ธงและดวงตราอาเซียน รูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำเงิน รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีผลผลิต สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ ที่มา :http://men.mthai.com/work/life-tips/2057.html
ภาพรวมโครงสร้างประชาคมอาเซียนภาพรวมโครงสร้างประชาคมอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ASEAN Economic Community AEC ประชาคมการเมือง และความมั่นคง อาเซียน ASEAN Security Community ASC ประชาคมสังคม และวัฒนธรรม อาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community ASCC รู้จัก 3 เสาหลัก ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก สู่ประชาคมอาเซียน 2015 ประกอบด้วย
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เป้าหมาย 1. การมีกฎ กติกาเป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน 2. มีความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคง สำหรับประชาชนที่ครอบคลุมอย่างรอบด้าน 3. มีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอกอาเซียน 4. มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 5. มีระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ด้วยดี 6. มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน 7. มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคาม ความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิม และรูปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เป้าหมาย 1. เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง 2. มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน 3. มีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต 4. ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 5. ส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป้าหมาย กลยุทธ์สำคัญ 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว 2. มีความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 3. มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. สามารถบูรณาการเข้ากับระบบเศรษฐกิจโลก 5. เกิดการรวมตัวทางเศรษฐกิจและอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขาย 6. เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ 7. ลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางสังคม 8. ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก 9. ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงินและ ตลาดทุน การประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและคมนาคม 10. พัฒนาความร่วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว 11. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝีมือแรงงาน
วิสัยทัศน์:ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็งและสนับสนุนคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนอาเซียนร่วมกันวิสัยทัศน์:ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็งและสนับสนุนคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนอาเซียนร่วมกัน
ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศไทยยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศไทย ๒. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความคุ้มครองทางสังคม ๓. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ ๑. การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้าและการลงทุน ๔. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๘. การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน ๕. การพัฒนากฏหมาย กฏ และระเบียบ ๗. การเสริมสร้างความมั่นคง ๖. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน
ประเด็นท้าทายของอาเซียนประเด็นท้าทายของอาเซียน การแข่งขันของมหา อำนาจสหรัฐ รัสเซีย จีนอินเดีย ญี่ปุ่น ความแตกต่าง ด้านเชื้อชาติศาสนา ระดับการพัฒนา การพัฒนา โครงสร้างสถาบัน ประชาคม อาเซียน การแข่งขันเพื่อแย่งชิง ทรัพยากร ตลาด การลงทุน ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจ ความขัดแย้งใน ประวัติศาสตร์ ผลประโยชน์แห่งชาติ VS ภูมิภาค
ประชาคมอาเซียน-> สาธารณสุข ยาอาหารเครื่องมือ บริการสุขภาพ Health, MedicalHub, วิชาชีพ ฝึกอบรมสร้างผู้เชี่ยวชาญ มาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้างพื้นฐาน E-ASEAN Single-Window คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองลิขสิทธิ์ MDG คุณภาพชีวิต สิทธิมนุษยชน สวัสดิการสังคม ความเท่าเทียม, อนามัยเจริญพันธุ์ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ แรงงานต่างด้าว พัฒนาสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค HIV IHR ด่าน อาหารปลอดภัย ความมั่นคงทางอาหาร • สิทธิมนุษยชน • อาชญากรรมข้ามชาติ • การค้ายาเสพติด • การก่อการร้าย • อาวุธชีวภาพ • ความร่วมมือด้าน • สาธารณภัย
การเตรียมความพร้อมของกระทรวงสาธารณสุขการเตรียมความพร้อมของกระทรวงสาธารณสุข
การวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ • การลงทุนสร้างโรงพยาบาลหรือสถานบริการด้านสุขภาพของสมาชิก AEC • ไทยตั้งเป้าเป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์***** • การค้าขายการท่องเที่ยวโรงแรมคึกคักบทบาทของด่านศุลกากรน้อยลงมีปัญหายาเสพติดและปัญหาสังคมตามมามากขึ้น • ขาดแคลนสาธารณูปโภคและบริการพื้นฐานความแออัดของเมืองใหญ่ไทยจะเป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารโลก***** • ปัญหาสังคมการแบ่งชนชั้นชุมชนเฉพาะกลุ่มอาชญากรรมสูงขึ้น • ผู้มารับบริการด้านสุขภาพ เป็นแรงงานต่างชาติและผู้ป่วยต่างชาติ มีมากขึ้น มีความหลากหลายของเชื้อชาติ • ปัญหาโรคอุบัติใหม่ เกิดโรคติดต่อ ที่มา: พิเชฐ บัญญัติ, 2555 http://www.thai-aec.com/
การวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ เมื่อเกิด AEC : เกิดการแข่งขันบริการด้านสุขภาพ ที่มา : นายแพทย์ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์
Thailand Center of Excellent Health Care of Asia ทีมา: สนง. คณะกรรมการบริหารศูนย์กลางสุขภาพระหว่างประเทศ กรม สบส
สถานการณ์กำลังคนด้านสาธารณสุข ที่มา: สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2554
การบริหารทรัพยากรมนุษย์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ASEAN MRA ได้มีการลงนามใน 7 สาขาวิชาชีพและ 1 ฝีมือแรงงาน
การวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ • การลงทุนสร้างโรงพยาบาลหรือสถานบริการด้านสุขภาพของสมาชิก AEC • ไทยตั้งเป้าเป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์***** • การค้าขายการท่องเที่ยวโรงแรมคึกคักบทบาทของด่านศุลกากรน้อยลงมีปัญหายาเสพติดและปัญหาสังคมตามมามากขึ้น • ขาดแคลนสาธารณูปโภคและบริการพื้นฐานความแออัดของเมืองใหญ่ไทยจะเป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารโลก***** • ปัญหาสังคมการแบ่งชนชั้นชุมชนเฉพาะกลุ่มอาชญากรรมสูงขึ้น • ผู้มารับบริการด้านสุขภาพ เป็นแรงงานต่างชาติและผู้ป่วยต่างชาติ มีมากขึ้น มีความหลากหลายของเชื้อชาติ • ปัญหาโรคอุบัติใหม่ เกิดโรคติดต่อ ที่มา: พิเชฐ บัญญัติ, 2555 http://www.thai-aec.com/
ผลกระทบจากแรงงานข้ามชาติผลกระทบจากแรงงานข้ามชาติ • ข้อมูลจากการสำมะโนประชากรและการเคหะปี ๒๕๕๓ - ประชากรที่ไม่ได้ถือสัญชาติไทย ประมาณ ๒.๗ ล้านคน (ร้อยละ ๔.๑ของประชากรทั่วประเทศ) - มากกว่าครึ่งอาศัยอยู่ใน กทม และภาคกลาง - ร้อยละ ๙๐ เป็นแรงงานข้ามชาติจากประเทศเพื่อนบ้าน • คาดว่ายังมีแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตามที่เข้าเมืองแบบผิดกฏหมาย > ๑ ล้านคน (รวมแรงงานต่างชาติไม่ต่ำกว่า ๓ ล้านคน)
ตัวอย่างผลกระทบจากแรงงานข้ามชาติ (ต่อ) • การเพิ่มขึ้นของแรงงานข้ามชาติมีผลโดยตรงกับความสามารถในการรองรับของระบบบริการสุขภาพ - อัตราการครองเตียงของแรงงานต่างด้าวโรงพยาบาลในพื้นที่ที่มีแรงงานข้ามชาติจำนวนมาก (ชายแดน เขตอุตสาหกรรม - การสื่อสารมีปัญหา - ภาระค่ารักษาพยาบาล - โรคติดเชื้อและโรคเรื้อรัง เช่น วัณโรค เท้าช้าง มาลาเรีย - อนามัยแม่และเด็ก (ทารกน้ำหนักน้อยอยู่ใน รพ. นาน ที่มา: เวทีวิชาการ “ สุขภาพแรงงานข้ามชาติ: ทางออกที่เหมาะสมเพื่อสร้างความ เป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพ โรงแรมทีเคพาเลช ๑๕ ตค. ๕๕
ผลกระทบที่คาดจะเกิดขึ้นผลกระทบที่คาดจะเกิดขึ้น • 1. สุขภาพคนไทยอาจแย่ลง • การไหลทะลักของสินค้าทำลายสุขภาพ เช่น เหล้า สุรา ฯลฯง • อาหารและยาที่ไมได้มาตรฐานเข้ามามาก • การแพร่กระจายของโรคติดต่อ • การทำลายทรัพยากรธรรมชาต • 2. บริการสุขภาพถูกแย่งชิงทั้งจากกลุ่มคนฐานะดีและแรงงานข้ามชาติ • 3. ความเหลื่อมล้ำระหว่างไทยกับเพื่อนบ้าน คนรวยคนจน ก่อปัญหายาเสพติด
การเตรียมความพร้อมกำลังคนด้านสุขภาพการเตรียมความพร้อมกำลังคนด้านสุขภาพ ข้าราชการจะต้องเป็น “ผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง” สร้างเสริมสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ ICT เปิดกว้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน • C - Create sense of urgency (ตระหนักความเร่งด่วนและความสำคัญของการเปลี่ยนแปลง) • H - Hear the strategic heartbeat (ค้นหาและพัฒนาพลังแห่งอัจฉริยภาพขององค์กร) • A - Architect change blueprint (วางพิมพ์เขียวของการเปลี่ยนแปลง) • N - Nurture change ambassador (การเพาะบ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์ใหม่) • G - Generate short term win (สร้างชัยชนะของการเปลี่ยนแปลง) • E - Enhance organization best practices (การสร้างความเป็นเลิศในการเปลี่ยนแปลง) • ที่มา :กฤษณ์ รุยาพร(2556) http://www.thai-aec.com/
การเตรียมความพร้อมระบบบริการด้านสุขภาพการเตรียมความพร้อมระบบบริการด้านสุขภาพ เร่งปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน พัฒนาคุณภาพให้ได้มาตรฐาน (เหนือเกณฑ์) เร่งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน มีแผนงานบริการด้านสุขภาพสำหรับกลุ่มชาวต่างชาติ แรงงานต่างชาติ (การบริการระดับปฐมภูมิ เน้นการป้องกันและควบคุมโรค รักษาพยาบาลเบื้องต้น) มีกลยุทธ์ที่เหมาะสมเพื่อรักษาและดึงดูดผู้ใช้บริการ http://www.thai-aec.com/
ประเด็นที่ต้องเตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนด้านสาธารณสุขและหน่วยงานรับผิดชอบ (1)
ประเด็นที่ต้องเตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนด้านสาธารณสุขและหน่วยงานรับผิดชอบ (2)
Flagship Projectการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
๑. การสนับสนุนการเป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในอาเซียน • พัฒนาศักยภาพ รพศ.ขนาดใหญ่ทีต้องเป็นศูนย์กลางด้านวิชาการในภูมิภาค 5 แห่ง (รพ. เชียงรายฯ, รพ. สรรพสิทธิประสงค์, รพ. พหลฯ, รพ. หาดใหญ่, รพ. พระปกเกล้า) • พัฒนาศักยภาพของ รพ. ขนาดกลางและขนาดเล็กตามแนวตะเข็บชายแดน 50 แห่ง เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศและศูนย์วิจัยพัฒนาองค์ความรู้ด้าน ต่างๆ (เทคโนโลยีทันตกรรม เครือข่ายโรคผิวหนังรวมทั้งการปลูกถ่ายรากผม จักษุกรรม การป้องกันตาบอดจาก เบาหวาน • สนับสนุนการพัฒนาบริการสุขภาพให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานให้แก่สถานบริการในจังหวัดที่เป็นเมืองสุขภาพ • การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สื่อต่างๆ รองรับการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพสถานบริการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในโรงพยาบาลภาครัฐ
๒. การใช้ภารกิจด้านสาธารณสุขเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ และการลงทุนเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน • พัฒนาระบบการคัดกรอง ณ ด่านช่องทางเข้า-ออกให้ เป็น one-stop service ที่ให้บริการมาตรฐานระดับสากล • พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุขที่เป็น ภาพรวมของประเทศและเชื่อมต่อเป็น National Single Window • พัฒนาความพร้อมของห้องปฏิบัติการใน 4 ภูมิภาค (วัตถุดิบประกอบอาหาร และการสอบสวนโรค • พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ (SSRT/FRRT)
๓. การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในประชาคมอาเซียน • การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ระบบสารสนเทศ ห้องปฏิบัติการ พัฒนากำลังคน) • การจัดระบบการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในจังหวัดชายแดน (พัฒนาความร่วมมือในการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคระหว่าง จังหวัดคู่ขนานในพื้นที่ชายแดนไทยก้บประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาศูนย์เฝ้าระวังเชื้อโรคติดต่ออุบัติใหม่) • พัฒนา/ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนควบคุมโรค ชายแดน • การพัฒนาขีดความสามารถของด่านควบคุมโรคในพื้นที่ ชายแดนตาม IHR
๔. พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) • ส่งเสริมพัฒนาให้สถานบริการสุขภาพมีความพร้อมและศักยภาพในการเข้าสู่การรองรับคุณภาพบริการสุขภาพในระดับนานาชาติ • พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพแบบครบวงจร (Thailand Health Complex) • พัฒนา IT ณ ศูนย์บริการข้อมูลสุขภาพ (One Stop Service Center) ทั้งระบบ on line และระบบ Offline • พัฒนาศูนย์ล่ามตามนโยบาย Medical Hub • ประชาสัมพันธ์และการทำ Business Matching รองรับนโยบาย Medical Hub • พัฒนาระบบการยกเว้นการตรวจลงตราสำหรับเดินทางเข้ามารับบริการรักษาพยาบาลในประเทศไทยสำหรับกลุ่มสมาชิก GCC
ความท้าทายที่รออยู่ข้างหน้าความท้าทายที่รออยู่ข้างหน้า
สถานการณ์และผลกระทบด้านโรคติดเชื้อสถานการณ์และผลกระทบด้านโรคติดเชื้อ จุดเด่นที่ประเทศไทยมี FETN = Field Epidemiology Training Network
ประเด็นเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการประเด็นเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการ One vision, One idenity, One community and One health
ท่านพร้อมจะเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนแล้วหรือยัง http://www.thai-aec.com/