590 likes | 938 Views
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ขั้นตอนและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน วิชาการระดับบัณฑิตศึกษา. วันจันทร์ที่ 26 พฤษภาคม 2551 ณ ห้องประชุมบัณฑิตวิทยาลัย. สินีนาฏ พุ่มสอาด นักวิชาการศึกษาชำนาญการระดับ 8 รักษาการในตำแหน่งหัวหน้างานบริการการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย.
E N D
เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง ขั้นตอนและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน วิชาการระดับบัณฑิตศึกษา วันจันทร์ที่ 26 พฤษภาคม 2551 ณ ห้องประชุมบัณฑิตวิทยาลัย สินีนาฏ พุ่มสอาด นักวิชาการศึกษาชำนาญการระดับ 8 รักษาการในตำแหน่งหัวหน้างานบริการการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
สถานที่ตั้งของบัณฑิตวิทยาลัยสถานที่ตั้งของบัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวรต.ท่าโพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ : 0-5526-1000-4 ต่อ 2066,2438,2444 โทรสาร: 0-5526-1000-4 ต่อ 2066,2438,2444 ต่อ 111
ลงทะเบียนเรียนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าสู่เว็บไซด์ที่www.reg.nu.ac.th ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ชำระเงินค่าลงทะเบียนโดยการโอนเงินผ่านระบบธนาคารเพื่อเข้าบัญชี มหาวิทยาลัยนเรศวร การลงทะเบียนรายวิชาใดๆ ต้องได้รับ ความเห็นชอบจาก อ.ที่ปรึกษา รายวิชาใดที่เคยได้ระดับขั้น B หรือ สูงกว่าจะลงทะเบียนรายวิชานั้นซ้ำอีกไม่ได้ นิสิตต้องลงทะเบียนเรียนและชำระเงินภายในระยะเวลาที่กำหนด หากพ้นระยะเวลาที่กำหนด นิสิตจะพ้นสภาพการเป็นนิสิต รายละเอียดขั้นตอนการลงทะเบียนผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตศึกษา ได้จากคู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา นิสิตแบบ 1 ภาคการศึกษาลงทะเบียน ไม่เกิน 15 หน่วยกิต / ภาคการศึกษา นิสิตแบบ 2 ภาคการศึกษาลงทะเบียน ไม่เกิน 15 หน่วยกิต / ภาคการศึกษา นิสิตแบบ 3 ภาคการศึกษาลงทะเบียน ไม่เกิน 9 หน่วยกิต / ภาคการศึกษา 1 2 3 4 การลงทะเบียนเรียน
ลงทะเบียนเพิ่ม – ถอนรายวิชาผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ชำระเงินค่าลงทะเบียนโดยการโอนเงินผ่านระบบธนาคารเพื่อเข้าบัญชีมหาวิทยาลัยนเรศวร กรณีดำเนินการเพิ่ม-ถอนรายวิชาไม่ทันตามกำหนด ให้ดำเนินการ ทำคร้องขอเพิ่ม-ถอนรายวิชาหลัง กำหนดและเสียค่าปรับ การลงทะเบียนเพิ่ม - ถอน รายวิชาต้องได้รับอนุมัติจากอาจารย์ที่ปรึกษา การลงทะเบียนรายวิชาให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรฯข้อ 13 กำหนดให้ลงทะเบียนรายวิชา ในแต่ละภาคการศึกษา 1 2 3 การลงทะเบียนเพิ่ม - ถอน รายวิชา
นิสิตยื่นคำร้องขอลาพักการศึกษาโดยผ่านความเห็นชอบจากผู้เกี่ยวข้องตามลำดับ ดังนี้ 1. อาจารย์ที่ปรึกษา 2. หัวหน้าภาควิชา / สาขาวิชา 3. คณบดีเจ้าของหลักสูตร 4. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย 5. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ (อนุมัติ / ไม่อนุมัติ) นิสิตที่ลาพักการศึกษาต้องชำระค่าธรรมเนียมการลาพักการศึกษาทุกภาคการศึกษาตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรฯ ข้อ 27 การลาพักการศึกษาและ/หรือลาป่วยติดต่อกัน 2 ภาคการศึกษาปกติ ในปีการศึกษาแรก โดยไม่มีหน่วยกิตสะสม สำหรับนิสิตแบบ 1 ภาคการศึกษา จะพ้นสภาพการเป็นนิสิต ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรฯข้อ 26.11 การลาพักการศึกษา
การย้ายสาขาวิชาต้องมีเหตุผลความจำเป็นประกอบการพิจารณาการย้ายสาขาวิชาต้องมีเหตุผลความจำเป็นประกอบการพิจารณา กรณีนิสิตแบบ 1 ภาคการศึกษาการย้ายสาขาวิชาต้องได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานต้นสังกัดจึงจะสามารถยื่นคำร้องขอเปลี่ยนสาขาได้ นิสิตยื่นคำร้องขอย้ายสาขาวิชาโดยผ่านความเห็นชอบจากผู้เกี่ยวข้องตามลำดับ ดังนี้ 1. อาจารย์ที่ปรึกษา 2. หัวหน้าภาควิชา / สาขาวิชา (เดิม) 3. คณบดีเจ้าของหลักสูตร (เดิม) 4. หัวหน้าภาควิชา / สาขาวิชา(ที่ขอย้าย) 5. คณบดีเจ้าของหลักสูตร(ที่ขอย้าย) 6. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย 7. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ (อนุมัติ / ไม่อนุมัติ) การย้ายสาขาวิชา
นิสิตสามารถยื่นคำร้องขอเทียบโอนหน่วยกิต พร้อมหลักฐานประกอบ ด้วย transcript, คำอธิบายรายวิชาที่เรียนมาแล้วโดยผ่านความเห็นชอบของผู้เกี่ยวข้องตามลำดับ ดังนี้ 1. อาจารย์ที่ปรึกษา 2. หัวหน้าภาควิชา / สาขาวิชา 3. คณบดีเจ้าของหลักสูตร 4. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย 5. อธิการบดี (อนุมัติ / ไม่อนุมัติ) หลักเกณฑ์การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาที่เทียบโอนต้องเรียนมาแล้วไม่เกิน 5 ปี เทียบโอนรายวิชาได้ไม่เกินหนึ่งในสามของจำนวนหน่วยกิตรวมของหลักสูตรที่รับโอน นิสิตต้องมีเวลาเรียนอย่างน้อยหนึ่งปีการศึกษาในมหาวิทยาลัยที่รับโอน การเทียบโอนหน่วยกิต
รายวิชาที่เทียบโอนต้องมีจำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่าจำนวนหน่วยกิต ตามหลักสูตรที่ขอเทียบโอน เนื้อหาวิชาของรายวิชาที่เทียบโอนต้องมีเนื้อหาสาระครอบคลุมไม่น้อยกว่าสามในสี่ของรายวิชาหรือกลุ่มที่วิชาที่ขอเทียบ การเทียบโอนหน่วยกิต (ต่อ)
นิสิตจะต้องมีเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาวิชาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน ในภาคการศึกษานั้น ๆ จึงจะมีสิทธิ์สอบ การศึกษาแบบ 1 ภาคการศึกษา จัดการศึกษาปีละ 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ต่อภาคการศึกษา การศึกษาแบบ 2 ภาคการศึกษา จัดการศึกษาปีละ 2 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ต่อภาคการศึกษา การศึกษาแบบ 3 ภาคการศึกษา จัดการศึกษาปีละ 3 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์และอาจมีภาคฤดูร้อน มีระยะเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ระยะเวลาการศึกษา
นิสิตต้องได้รับการประเมินผลการศึกษาทุกภาคเรียนนิสิตต้องได้รับการประเมินผลการศึกษาทุกภาคเรียน การประเมินผลของนิสิตต้องได้ระดับขั้นไม่ต่ำกว่า C หากได้ต่ำกว่านี้จะต้องลงทะเบียนในรายวิชานั้นซ้ำอีกจนกระทั่งได้ระดับขั้นไม่ต่ำกว่า C การวัดและประเมินผลการศึกษา
นิสิตต้องผ่านการสอบประมวลความรู้ โดยดำเนินการดังนี้ สมัครสอบประสอบประมวล ความรู้นิสิตต้องเรียนรายวิชา วิชาในหลักสูตรตามระบบ การศึกษาที่ตนเข้าศึกษาไม่น้อย กว่า 1 ปี และเรียนรายวิชาที่ กำหนดในหมวดวิชาและ เนื้อหาสาระครบ ตามประกาศ ของมหาวิทยาลัยนเรศวร บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดการสอบประมวลความรู้ปีการศึกษาละ 3 ครั้ง เนื้อหาสาระการสอบเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่องการกำหนดหมวดวิชาและเนื้อหาสาระการสอบประมวลความรู้สำหรับนิสิตปริญญาโท แผน ข 1 การสอบประมวลความรู้(Comprehensive Examination)สำหรับนิสิตปริญญาโท แผน ข.
สมัครสอบและชำระเงินค่า สมัครสอบภายในระยะเวลา ที่มหาวิทยาลัยกำหนด กรณีที่จะถือว่านิสิตสอบผ่านนิสิตจะต้องสอบได้คะแนนร้อยละ 60 ขึ้นไป ตามประกาศตามประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง กำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการสอบประมวลความรู้สำหรับนิสิตปริญญาโทแผน ข กรณีนิสิตสอบไม่ผ่าน 3 ครั้งในปีการศึกษานั้นนิสิตสามารถสอบจนกว่าจะผ่านในปีการศึกษาต่อไป แต่ระยะเวลาการศึกษาต้องไม่เกิน 10 ปีการศึกษา สำหรับนิสิต1 ภาคการศึกษา 2 การสอบประมวลความรู้(Comprehensive Examination)สำหรับนิสิตปริญญาโท แผน ข. (ต่อ)
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง นิสิตดำเนินการดังนี้ ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตามที่กำหนดไว้ใน แผนการเรียนของแต่ละหลักสูตรจนครบ 6 หน่วยกิต นิสิตทำการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นกลุ่มได้กลุ่มละไม่เกิน 3 คน นิสิตดำเนินการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา นิสิตต้องนำเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ในการสัมมนาทาง วิชาการที่คณะเป็นผู้ดำเนินการ นิสิตจัดพิมพ์และทำรูปเล่มการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตามรูปแบบที่ มหาวิทยาลัยกำหนด นิสิตส่งรายงานการศึกษาค้นคว้าตนเอง ฉบับสมบูรณ์ จำนวน 2 เล่ม พร้อม บทคัดย่อ 2 ชุดและแผ่นข้อมูล pdf จำนวน 1 แผ่น ที่คณะ 1 2 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง(Independent Study) สำหรับนิสิตปริญญาโท แผน ข 3 4 5 6
การสำเร็จการศึกษาและเสนอชื่อเพื่ออนุมัติปริญญา นิสิตต้องผ่านเงื่อนไข ข้อ 25 ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2549 ดังนี้ นิสิตปริญญาโท แผน ข 1 มีระยะเวลาการศึกษาตามกำหนด 2 ลงทะเบียนเรียนครบตามที่หลักสูตรกำหนด ในภาคการศึกษาสุดท้ายที่นิสิตจะจบหลักสูตรการศึกษา นิสิตต้องยื่นแบบขอสำเร็จการศึกษา ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด การสำเร็จการศึกษาและเสนอชื่อเพื่อขออนุมัติปริญญา
3 สอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษตามประกาศของมหาวิทยาลัยนเรศวร 3 สอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษตามประกาศของมหาวิทยาลัยนเรศวร 4 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตรและเงื่อนไขของ สาขาวิชานั้น ๆ 5 มีผลการศึกษาได้ค่าระดับขั้นสะสมเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 6 สอบผ่านการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) การสำเร็จการศึกษาและเสนอชื่อเพื่อขออนุมัติปริญญา(ต่อ)
กรณีที่นิสิตไม่สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนดกรณีที่นิสิตไม่สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด * นิสิตต้องชำระค่าธรรมเนียมการศึกษา ตามประกาศของมหาวิทยาลัย
เกณฑ์การสอบผ่านภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร • 1. เกณฑ์การสอบผ่านภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษา ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 • พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป • 2. เกณฑ์การสอบผ่านภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษา ไม่ใช้บังคับกับนิสิต • ที่มีผลสอบผ่านภาษาอังกฤษจากประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา แคนาดา • ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ หรือสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย • ต่างประเทศที่ใช้หลักสูตรและการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษที่ ก.พ.รับรอง • ผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่กำหนด มีผลไม่เกิน 2 ปี นับถึงวันที่ยื่น • หลักฐาน
รายชื่อสถาบันการศึกษาที่มีผลการสอบภาษาอังกฤษเทียบเท่า TOEFL หรือ IELST ที่มหาวิทยาลัยรับรอง • CU-TEP (Chulalongkorn University Test English Proficiency) จากศูนย์ทดสอบทางวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • TEGS (Test of English for Graduate Studies) จากสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระยะเวลาการศึกษาสำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษาระยะเวลาการศึกษาสำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษา
กรณีนิสิตไม่สำเร็จการศึกษา เนื่องจากครบระยะเวลาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดในปีการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ครั้งที่ 7/2550 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 มีมติเห็นชอบ • ให้นิสิตสมัครเข้าเรียนใหม่ได้ โดยไม่ต้องสอบคัดเลือก • ให้เทียบโอนรายวิชาที่มีค่าระดับขั้น B ขึ้นไปได้ • ให้โอนผลการสอบประมวลความรู้ ผลการสอบวัดคุณสมบัติ ผลการสอบวิทยานิพนธ์ / IS และผลการตีพิมพ์ในวารสาร รวมทั้งผลการสอบผ่านภาษาอังกฤษ โดยนิสิตต้องศึกษา อยู่ในมหาวิทยาลัยนเรศวร อย่างน้อย 1 ปีการศึกษา
คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ จำนวนคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
คณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์คณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย • ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ • กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ • คณาจารย์บัณฑิตศึกษาในสาขาวิชานั้น • คณาจารย์บัณฑิตศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง รวมแล้วไม่น้อยกว่า 5 คน ทำหน้าที่ประธาน กรรมการ และเลขานุการ
การเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์หลังจากสอบโครงร่างฯการเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์หลังจากสอบโครงร่างฯ • เป็นการเปลี่ยนชื่อเรื่องโดยมีการปรับข้อความของชื่อเรื่องให้มีความเหมาะสม กระชับ รัดกุม โดยไม่กระทบ ต่อข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง และผลการทดลอง • กรณีที่เปลี่ยนชื่อเรื่องที่มีความหมายต่างไปจากเรื่องเดิม มีผลกระทบต่อข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง ผลการทดลอง นิสิตต้องดำเนินการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ใหม่ ภายใต้หัวข้อเรื่องที่เปลี่ยนแปลง
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
การสอบวิทยานิพนธ์ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ดำเนินการ ดังนี้ ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และภาควิชา รับผิดชอบในการ ประสานงานกับกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และขออนุมัติค่าใช้จ่ายในการจัดสอบจากคณะเจ้าของหลักสูตร กรณีนิสิตสอบวิทยานิพนธ์ไม่ผ่าน นิสิตมีสิทธิ์ขอยื่นสอบ วิทยานิพนธ์ใหม่ได้ภายหลังการสอบครั้งแรก ไม่น้อยกว่า 1 เดือน
การสอบวิทยานิพนธ์ (ต่อ) ในวันสอบจะต้องมีคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ครบ จึงจะถือว่า การสอบมีผลสมบูรณ์ ถ้าคณะกรรมการไม่ครบให้เลื่อนการสอบ ออกไป และในกรณีจำเป็นอาจขอเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ แต่ ต้องได้รับการแต่งตั้งก่อนวันสอบ อย่างน้อย 15 วันทำการ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์จะต้องรายงานผลการสอบต่อ บัณฑิตวิทยาลัยภายใน 2 สัปดาห์ หลังวันสอบวิทยานิพนธ์ ตามแบบรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์ (บว.24)
การสอบวิทยานิพนธ์ (ต่อ) • กรณีนิสิตเข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ระยะเวลาการขอสอบวิทยานิพนธ์ต้องห่างจากวันประกาศอนุมัติให้นิสิตบัณฑิตศึกษาดำเนินการทำวิจัยตามโครงร่างวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 90 วัน • การขอยื่นสอบวิทยานิพนธ์ต้องกำหนดเวลาสอบไม่ต่ำกว่า 30 วัน หลังจากการยื่นคำร้องขอสอบ
การตรวจรูปแบบสารนิพนธ์การตรวจรูปแบบสารนิพนธ์ • มหาวิทยาลัยนเรศวรกำหนดให้นิสิตบัณฑิตศึกษาใช้คู่มือการจัดทำ สารนิพนธ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ฉบับ พ.ศ. 2550 เป็นคู่มือในการทำวิทยานิพนธ์ และการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) • บัณฑิตวิทยาลัยตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์ตามคู่มือการจัดทำ สารนิพนธ์ฯ • อาจารย์ที่ปรึกษา/ภาควิชา/สาขาวิชา/ผอ.ศูนย์ฯ ตรวจรูปแบบ IS ตามคู่มือการจัดทำสารนิพนธ์ฯ
ขั้นตอนการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์ขั้นตอนการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์ ส่งตรวจรูปแบบครั้งที่ 1 กำหนดตรวจและส่งคืนภายใน 7 วันครั้งที่ 2 กำหนดตรวจและส่งคืนภายใน 3 วันครั้งที่ 3 กำหนดตรวจและส่งคืนภายใน 1 วัน
การติดตามความก้าวหน้าการทำวิทยานิพนธ์การติดตามความก้าวหน้าการทำวิทยานิพนธ์ • บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้จัดทำสมุดบันทึก การขอคำปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อให้คณะกรรมการที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ ได้ลงบันทึกในสมุดเมื่อให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ แก่นิสิต ซึ่งจะเป็นการติดตามความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์ ของนิสิตเพื่อให้สำเร็จการศึกษาได้ตามที่หลักสูตรกำหนด • สามารถ Download จาก www.grad.nu.ac.th
การติดตามความก้าวหน้าการทำ IS • บัณฑิตวิทยาลัยจัดทำสมุดควบคุมการให้คำปรึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง (IS) ให้กับอาจารย์ที่ปรึกษาใช้ในการควบคุมนิสิต ทุกคนให้มีส่วนร่วมในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการทำ IS ของนิสิต • สามารถ Download จาก www.grad.nu.ac.th
1 2
สรุปแบบฟอร์มการทำวิทยานิพนธ์ และ IS • บัณฑิตวิทยาลัย ได้นำแบบฟอร์มการทำวิทยานิพนธ์ และ IS และแบบฟอร์มอื่น ๆ ขึ้นบนเว็บไซด์ • บัณฑิตวิทยาลัย ได้จัดทำแบบฟอร์มภาษาอังกฤษ สำหรับนิสิตที่เรียนหลักสูตรนานาชาติ สามารถ Download ได้ที่ www.grad.nu.ac.th
1 2
การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualify Examination) • คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์สมัครสอบวัดคุณสมบัติ นิสิตระดับปริญญาเอก สมัครสอบได้ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ของชั้นปีที่ 2 ตามวันในประกาศการสอบวัดคุณสมบัติของ มหาวิทยาลัย • กรณีที่ถือว่านิสิตสอบผ่าน • กรณีสอบเฉพาะข้อเขียนต้องผ่านร้อยละ 70 ขึ้นไป • กรณีสอบทั้งข้อเขียนและสัมภาษณ์ต้องได้คะแนนสอบในแต่ละส่วนร้อยละ 50 ขึ้นไปและคะแนนรวมของทั้งสองส่วนร้อยละ 70 ขึ้นไป • มหาวิทยาลัยจัดสอบวัดคุณสมบัติปีการศึกษาละ 3 ครั้ง • กรณีสอบไม่ผ่าน 3 ครั้งในปีการศึกษานั้น ๆ สามารถสมัครสอบในปีการศึกษาต่อไป จนกว่าจะผ่าน
การสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) • คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์สมัครสอบประมวลความรู้ นิสิตระดับปริญญาโท แผน ข ที่เรียนรายวิชาในหลักสูตรและระบบการศึกษา ไม่น้อยกว่า 1 ปีและเรียนรายวิชาที่กำหนดไว้ใน หมวดวิชาและเนื้อหาสาระการสอบ • กรณีที่ถือว่านิสิตสอบผ่าน จะต้องสอบได้คะแนนร้อยละ 60 ขั้นไป • มหาวิทยาลัยจัดสอบประมวลความรู้ปีการศึกษาละ 3 ครั้ง • กรณีสอบไม่ผ่าน 3 ครั้งในปีการศึกษานั้น ๆ สามารถสมัครสอบในปีการศึกษาต่อไป จนกว่าจะผ่าน
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโทเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโท
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโท (ต่อ)
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอกเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอก
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอก (ต่อ)
แนะนำข้อมูลทางวิชาการบนเว็บไซต์แนะนำข้อมูลทางวิชาการบนเว็บไซต์