440 likes | 1.28k Views
6 กรกฎาคม 2554. ทีม IM. เป็นโรงพยาบาลชั้นนำที่มี คุณภาพ ได้มาตรฐาน ประทับใจบริการ พัฒนางานร่วมกับชุมชน. วิสัยทัศน์ของ โรงพยาบาล. แผนยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพสนับสนุนต่อการให้บริการ.
E N D
6กรกฎาคม 2554 ทีมIM
เป็นโรงพยาบาลชั้นนำที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ประทับใจบริการ พัฒนางานร่วมกับชุมชน วิสัยทัศน์ของโรงพยาบาล แผนยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพสนับสนุนต่อการให้บริการ เป้าประสงค์ที่ 4ระบบข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศมีคุณภาพได้มาตรฐาน
กลยุทธ์ที่ 1พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศและเชื่อมโยงข้อมูลสู่การรักษาพยาบาลและการสร้างเสริมสุขภาพ กลยุทธ์ที่ 2พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 กลยุทธ์
ออกแบบเวชระเบียนที่เหมาะสมต่อการนำไปใช้เพื่อการดูแลผู้ป่วยออกแบบเวชระเบียนที่เหมาะสมต่อการนำไปใช้เพื่อการดูแลผู้ป่วย พัฒนาระบบสารสนเทศและเวชระเบียนให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย จัดระบบงานเวชระเบียนให้มีประสิทธิภาพ ประสานเชื่อมโยงข้อมูลไปยังหน่วยงาน / ทีมที่เกี่ยวข้อง บทบาทหน้าที่
มีระบบและการใช้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพมีระบบและการใช้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ มีเวชระเบียนที่มีความสมบูรณ์ ปลอดภัย เป้าหมาย
พัฒนาระบบIT พัฒนาระบบข้อมูล พัฒนาระบบเวชระเบียน พัฒนาการตอบสนองความต้องการด้านข้อมูล ประเด็นการพัฒนา
ระบบ Net works • Hos-xp • TV • Internet พัฒนาระบบIT
ที่ตั้ง ห้องserver • การสำรองข้อมูล • ด้วยระบบReal Time • ด้วยระบบ Manual ทุกวันหลังเวลา 16.00 น. • สำรองใน CD / External HDD ทุกสิ้นเดือน Server
โปรแกรม Hosxp • มีPop up ใน pt แพ้ยา • ค้างชำระ • ชื่อ – สกุลซ้ำ • พัฒนาWebsite รพ.
เปลี่ยนระบบความเร็ว ADSLFiber optic • การเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิตามกฎหมายcomputer • การกำหนดสิทธิการใช้ internet พัฒนาระบบInternet
ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ • ข้อมูลที่มีค่า RW สูง 1. respiratory system Lobar Pneumonia 2. กลุ่มendocrine DM type 2 w Coma 3. กลุ่ม Infectious Melioidosis ที่มีโรคร่วมหลายโรค 4. ระบบ Nervous system Hydrocephalus 5. กลุ่ม Infectious Melioidosis ที่มีโรคร่วม 1 โรค • ผลลัพธ์ที่เกิด.......การพัฒนาการบันทึกข้อมูลและการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ครบถ้วน พัฒนาระบบข้อมูล
ข้อมูลเพื่อการดูแลผู้ป่วยข้อมูลเพื่อการดูแลผู้ป่วย อันดับโรคผู้ป่วยนอก • Acute nasopharyngitis • Acute pharyngitis • Dyspepsia • DM • HT
PCTร่วมกับ IC และOPD ได้พัฒนาระบบการตรวจ OPD เฉพาะไข้หวัด โดยจัด One Stop Service สถานที่ตรวจบริเวณด้านล่าง จากข้อมูลไข้หวัดที่พบบ่อย
DM มีการคัดกรองเชิงรุกมากขึ้น • ตั้งคลินิกตรวจเท้า • นวตกรรม ครูหมอนสอนหวาน ,นาฬิกาสอนหวาน • พัฒนาการตรวจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน เช่น ตรวจโรคไต,ตรวจตา, ประจำปีในผู้ป่วยเบาหวานทุกราย เพื่อการดูแลผู้ป่วย (ต่อ)
พบกรณี Hypo-Hyperglycemia • ทีม Ward ร่วมกับ PCUและ รพ.สต. ออกติดตามเยี่ยมเชิงรุก • โภชนากร,เภสัชกร ให้ EMPOWER ขณะAdmit ผลลัพธ์อัตราการ Re-admit ด้วยHypo-Hyperglycemia ลดลง อัตราการ Re-admit DM
DHF • Diarrhea and Gastroenteritis • Environmental hyperthermia of newborn • DF • Septicaemia • รณรงค์ควบคุมลูกน้ำยุงลายในโรงพยาบาล • จัดให้มีผู้เชี่ยวชาญในโรคที่พบบ่อยในตึก • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องที่รับมอบหมาย อันดับโรคผู้ป่วยใน
กลุ่มโรคติดต่อ • DHF, TB, Diarrhea, HIV และ URI • ปรับระบบFlow TB • จัดระบบFast tack ที่ OPD • กลุ่มโรคไม่ติดต่อ • DM • HT • Asthma • Trauma กลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่
จากการตรวจสอบเวชระเบียนโดยผู้ชำนาญการกว่าจากการตรวจสอบเวชระเบียนโดยผู้ชำนาญการกว่า • พบโอกาสพัฒนาจากการดูแลผู้ป่วย 5 อันดับแรกคือ 1.ตามคนไข้กลับมาตรวจเพื่อ Investigate เช่น X-Ray, EKG 2. ตามจ่ายยาให้คนไข้ที่ไม่ได้รับยาATB / ได้รับไม่ครบ Dose 3. ตามคนไข้กลับมาตรวจซ้ำ 4. ลงบาดแผลไม่ชัดเจน 5. เพิ่มการนัดF/U การดูแลผู้ป่วย( ต่อ)
การตอบสนองข้อมูลแก่ทีม /หน่วยงานต่างๆ • 10 อันดับโรคที่พบบ่อย ทั้งOP/IP PCT • จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการทั้งหมด PCT, การเงิน • จำนวนวันนอน PTC , IC • อัตราครองเตียง กลุ่มการพยาบาล • การส่งข้อมูลกลับ รพ.สต. รพ.สต. 4 แห่ง • ข้อมูลตามรายงาน 0110 รง.5 ข้อมูลการตาย,ข้อมูลส่งเสริมป้องกัน เป็นต้น ข้อมูลเพื่อการพัฒนาและการวิจัย
การจัดเก็บเวชระเบียน • เวชระเบียนทั่วไป Computer +Folder ที่ห้องบัตร • เวชระเบียนที่เป็นความลับ งานคลินิกพิเศษ • การค้น + จัดเก็บเวชระเบียน จนท.ห้องบัตร ตลอด 24 ช.ม. • การเข้าถึงเวชระเบียน • จำกัดสิทธิการเข้าถึง มีรหัสของแต่ละคน • ความสมบูรณ์ของเวชระเบียน OP /IP , 18 file • Audit ทุก 3 เดือน ( Internal Audit ) พัฒนาระบบเวชระเบียน
สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยในอัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยใน จากกราฟพบว่าปี 2554 ผลงานลดลง โอกาสพัฒนาใน History, consult,Inform consent
อัตราความถูกต้องของการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่ตรวจโดยผู้ชำนาญการกว่าอัตราความถูกต้องของการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่ตรวจโดยผู้ชำนาญการกว่า
Pt ไม่ได้รับยา ATB ในกรณีที่ควรได้รับ Pt ไม่ได้รับการตรวจInvestigate เพิ่มเติม เช่น X-Ray,EKG ไม่บันทึกลักษณะบาดแผล / บันทึกแต่ไม่ชัดเจน บันทึก Dx. ไม่ถูกต้อง ไม่ได้วัดไข้ในกรณีที่มีไข้ สรุปผลจากการตรวจโดยผู้ชำนาญการกว่า
หน่วยงานER Morning Talk ทุกวันหลังรับเวรเช้า ประสานกับ ER /OPD / รพ.สต., อสม.,ผู้ใหญ่บ้าน ในการตามcase กลับมาดูแลในส่วนที่ควรได้รับ เช่น ตามมา X-ray ตรวจCBC,ตรวจซ้ำ,นัดตรวจ AFB , ให้ยาATB เพิ่มให้ครบDose การตอบสนอง
ติดตั้งโปรแกรม Hos - xpให้ครบทุกหน่วยที่ให้บริการ พัฒนารูปแบบการเก็บข้อมูลการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ระบบการตรวจสอบความสมบูรณ์เวชระเบียนผู้ป่วยให้ได้ตามเป้าหมาย โอกาสพัฒนา