430 likes | 667 Views
ร่วมขับเคลื่อน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สู่ความสำเร็จ. ประพล วิระพรสวรรค์. จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน 2,009,890 คน (ปวช. 1,296,829 คน & ปวส. 711,884 คน & ปทส . 1,177 คน ). เครือข่ายสถานประกอบการ เป็นสมาชิก 14,062 แห่ง / ไม่เป็นสมาชิก 540 แห่ง.
E N D
ร่วมขับเคลื่อน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษาสู่ความสำเร็จ ประพล วิระพรสวรรค์
จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน 2,009,890 คน(ปวช. 1,296,829 คน & ปวส. 711,884 คน &ปทส . 1,177 คน )
เครือข่ายสถานประกอบการเป็นสมาชิก 14,062 แห่ง / ไม่เป็นสมาชิก 540 แห่ง
แนวทางการดำเนินงานศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา ระดับสถานศึกษา 1. แต่งตั้งคณะทำงานศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษาระดับสถานศึกษา 1) ผู้อำนวยการสถานศึกษา ประธานคณะทำงาน 2) รองผู้อำนวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ รองประธานคณะทำงาน 3)รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ รองประธานคณะทำงาน 4) อาจารย์ประจำชั้น อาจารย์ที่ปรึกษา (ตัวแทน 1-3 ท่าน) คณะทำงาน 5) อาจารย์แนะแนว คณะทำงาน 6) เจ้าหน้าที่งานศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ คณะทำงาน 7) อาจารย์ผู้สอนรายวิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น คณะทำงาน 8) ผู้ประสานงานศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา เลขานุการคณะทำงาน
2. บทบาทหน้าที่ของคณะทำงานศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษาระดับสถานศึกษา 2.1 ด้านนักเรียนนักศึกษา - ให้สถานศึกษาบูรณาการนำเข้าข้อมูลและฝึกการใช้ ระบบ www.v-cop.net ของนักเรียนนักศึกษากับการเรียน การสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักเรียนนักศึกษากรอก และปรับปรุงข้อมูล - ให้เป็นปัจจุบัน อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะนักเรียนนักศึกษา ที่เข้าใหม่ ปี การศึกษา 2556
กระตุ้น ส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ นักเรียนนักศึกษาที่มีชื่ออยู่ในระบบให้ปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว(Resume) ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ โดยเฉพาะนักเรียน ปวช.3 และนักศึกษา ปวส.2 ที่กำลังจะจบ ในปีการศึกษา 2555 นี้ ให้มีการทบทวนข้อมูลส่วนตัวให้เป็นปัจจุบันก่อนจบการศึกษา • ดูแล กำกับให้นักเรียน นักศึกษากรอกข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง ถูกต้องเหมาะสมและตรงกับความเป็นจริง • ให้อาจารย์ที่ปรึกษาทำหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลของนักเรียน นักศึกษาให้ถูกต้องเป็นประจำทุกปีการศึกษา
2.2ด้านสถานประกอบการ - ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ เว็บไซต์ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา (www.v-cop.net) แก่สถานประกอบการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงสถานศึกษาเพื่อเข้าใช้บริการระบบศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา - บันทึกข้อมูลสถานประกอบการและแจ้งรหัส การใช้งานแก่สถานประกอบการอนุมัติตำแหน่งงานว่าง
ผลการประเมินประสิทธิภาพการบริหารจัดการศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555 • 1. การนำเข้าข้อมูลนักเรียนนักศึกษาที่เข้าใหม่ • 2. การปรับปรุงข้อมูลของนักเรียนนักศึกษาที่เข้าใหม่ • 3. การปรับปรุงข้อมูลของนักเรียนนักศึกษาที่กำลังจะจบการศึกษา • 4. การสุ่มติดต่อกับนักเรียนนักศึกษาทุกชั้นปี เกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจใน เว็บไซต์ ของศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา (www.v-cop.net) โดยใช้ แบบสอบถาม • 5. การให้บริการแก่สถานประกอบการในการเข้าใช้งานเว็บไซต์ ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษาของสถานศึกษา 5.1จำนวนของสถานประกอบการที่มีในระบบ - ประชาสัมพันธ์ตำแหน่งว่างหลักในระบบ - ประชาสัมพันธ์ตำแหน่งว่างทั่วไป 5.2การเข้าใช้ระบบของสถานศึกษา
เกณฑ์การประเมิน 1) สถานศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ดีมาก ร้อยละ 90-100 2) สถานศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ดี ร้อยละ 70-893) สถานศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม พอใช้ ร้อยละ 50-694) สถานศึกษาที่อยู่ในกลุ่ม ต้องปรับปรุง ร้อยละ 0-49
AEC(Asean Economics Community)“โอกาสทองของคนไทยในสายวิชาชีพ”
บทบาทการอาชีวศึกษา สู่โครงสร้างแรงงานอนาคตknowledge based economy ปัจจุบันอนาคต แรงงานมีฝีมือ บุคลากร ว&ท และผู้เชี่ยวชาญ บุคลากร ว&ท และผู้เชี่ยวชาญ แรงงานมีฝีมือ แรงงานไร้ฝีมือ แรงงานไร้ฝีมือ Labor/natural based economy Knowledge based economy
การเคลื่อนเข้าสู่สินค้าและบริการมูลค่าเพิ่มสูงการเคลื่อนเข้าสู่สินค้าและบริการมูลค่าเพิ่มสูง มูลค่า ผลิตภัณฑ์ที่มีตราสินค้า & นวัตกรรม การพัฒนาต้นแบบ บริการหลังการขาย สูง กำไรมาก Labor based industries การผลิตชิ้นส่วน กำไรมาก การขาย การผลิตโมเดลส่วนประกอบ การประกอบชิ้นส่วน กำไรน้อย ต่ำ กระบวนการจัดการ ต้นน้ำ ปลายน้ำ ประเทศไทย?
การแบ่งกลุ่มประชากร 5 ช่วงอายุ Traditional Generation อายุ 62 ปี ขึ้นไปGeneration B พ.ศ. 2489 – 2507 อายุ 44 – 62 ปี Generation X พ.ศ. 2508 – 2522 อายุ 29 – 43 ปี Generation Y พ.ศ. 2523 – 2533 อายุ 28 – 38 ปี Generation M 18-24 ปี หรือ อายุต่ำกว่า 18
Generation B (Baby Boomer Generation)ปี พ.ศ. 2551 มีประชากรไทยอยู่ในกลุ่มอายุ ประมาณ 13.3 ล้านคน คิดเป็น 21.1%(กระทรวงมหาดไทย, 2551 อ้างถึงใน Markerteer, 2552 : ออนไลน์) • Gen Bคือ กลุ่มคนที่เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2489 – 2507 อายุ 44 – 62 ปี • เป็นคนที่มีชีวิตเพื่อการทำงาน เคารพกฎเกณฑ์ กติกา อดทน ให้ความสำคัญกับผลงาน แม้ว่าจะต้องใช้เวลานานกว่าจะประสบ ความสำเร็จ • มีแนวคิดที่จะทำงานหนักเพื่อสร้างเนื้อสร้างตัว มีความทุ่มเทกับการทำงานและองค์กรมาก • คนกลุ่มนี้จะไม่เปลี่ยนงานบ่อยเนื่องจาก มีความจงรักภักดีกับองค์กรอย่างมาก ( ปัจจุบันนักการตลาดในหลายๆ ประเทศเน้นทำการตลาดกับกลุ่มนี้เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีขนาดใหญ่ มีกำลังซื้อ มีศักยภาพในการบริโภคสินค้า) มีทัศนคติที่ดีต่อการซื้อจับจ่ายใช้สอยสินค้าเพื่อตัวเองและบุคคลใกล้ชิด
Generation X (Extraordinary Generation)เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2508 – 2522 อายุ 29 – 43 ปี • เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2508 – 2522 อายุ 29 – 43 ปี • มีลักษณะพฤติกรรมชอบอะไรง่าย ๆ ไม่ต้องเป็นทางการ • ทำงานในลักษณะใช้ความคิด • ให้ความสำคัญกับเรื่องความสมดุลระหว่างงานกับครอบครัว (Work – life balance)
Generation X (Extraordinary Generation)เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2508 – 2522 อายุ 29 – 43 ปี • มีแนวคิดและการทำงานในลักษณะรู้ทุกอย่างทำทุกอย่างได้เพียงลำพัง ไม่พึ่งพาใคร มีความคิดเปิดกว้าง พร้อมรับฟังข้อติติงเพื่อการปรับปรุง และพัฒนาตนเอง • พฤติกรรมการบริโภคจะเป็นกลุ่มคนหนุ่มสาวที่กล้าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย สมาชิกหลักในครอบครัวทำงานทั้งสองคนใช้ชีวิต แบบทันสมัย
Generation Y (Why Generation) เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2523 – 2533 อายุ 28 – 38 ปี • เติบโตมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี • เป็นวัยที่เพิ่งเริ่มเข้าสู่วัยทำงาน • มีลักษณะนิสัยชอบแสดงออก มีความเป็นตัวของตัวเองสูง • ไม่ชอบอยู่ในกรอบและไม่ชอบเงื่อนไข • ต้องการความชัดเจนในการทำงาน ว่าสิ่งที่ทำมีผลต่อตนเองและต่อหน่วยงานอย่างไร?
Generation Y (Why Generation) เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2523 – 2533 อายุ 28 – 38 ปี • มีความสามารถในการทำงานที่เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร และยังสามารถทำงานหลาย ๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน • เป็นผู้บริโภคที่ใจร้อน ต้องการเห็นผลสำเร็จทุกอย่างอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเชื่อในศักยภาพของตนเอง • เชื่อว่าการประสบความสำเร็จในชีวิตจะเกิดขึ้นต้องทำงานหนัก ทำให้มีการแต่งงานช้าลง ไม่ถึง 30 ไม่แต่ง ถ้ามีแฟนแล้วแฟนมีอุปสรรคกับงาน ก็จะเลิกกับแฟนเลือกงาน คนกลุ่มนี้มักเปลี่ยนงานบ่อย มีเครดิตการ์ดมากกว่า 1ใบ ใช้บริการประเภทและมักใช้บริการ Personal Credit มากขึ้น
Generation M(Millennium Generation) “เด็กแนว” อายุปัจจุบันจะอยู่ในช่วง 18-24 ปี หรือ อายุต่ำกว่า 18 • เป็นสมาชิกในครอบครัวที่ ได้รับการดูแลเป็นพิเศษ และได้รับการสั่งสอนเพื่อไม่ให้ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งยั่วยุ มอมเมา ซึ่งไม่เคยมีมาก่อนในอดีต เช่น ยาเสพติด สุรา ทีวีมอมเมาเยาวชน พฤติกรรมก้าวร้าว เอดส์ รวมไปถึงการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันสมควร • เป็นผู้บริโภคแห่งความหวัง (Generation of Hope) ที่ผู้ใหญ่หวังว่า จะมีชีวิตอยู่เพื่อ แก้ไขความผิดพลาดที่ตนทำในอดีต • ให้ความสำคัญกับคอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ • ไม่ชอบเป็นลูกจ้าง อยากเป็นเจ้าของกิจการขนาดเล็ก มีแนวทางและอิสระเป็นของตัวเองชัดเจน
Generation Mอายุปัจจุบันจะอยู่ในช่วง 18-24 ปี หรือ อายุต่ำกว่า 18 • ชอบดู Channel V, MTV (TaNteE.NET, 2548 : ออนไลน์) • การทำตลาดของสินค้าโดยเฉพาะสินค้าด้านสุขภาพที่จะสามารถเจาะกลุ่มตลาดนี้ได้ในขณะที่ต้องเป็นสินค้าที่มีคุณภาพแล้ว ยังต้องมีความเป็นตัวเองสูง และมีความโดดเด่น • การเข้าถึงกลุ่ม Gen Mหากทำในตลาดปรกติเพียงอย่างเดียวอาจไม่สามารถสื่อสารกับ Gen M ได้เพียงพอ เพราะผู้บริโภคกลุ่มนี้เปิดรับข้อมูลข่าวสารโดยใช้สื่อดิจิตอลเป็นหลัก • การเข้าถึงและการทำตลาดกับ Millennium Generation จึงควรมุ่งเน้นที่สื่อดิจิตอลเป็นสำคัญ
ความต้องการกำลังคน ด้านปริมาณ
อุปสงค์แรงงานใหม่ในระดับ ปวช., ปวส. ที่มา:โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับผู้สูงอายุ,สศช., ก.ย. 2551, หน้า 3-29
หมายเหตุ: Supply(Con1) = อุปทานแรงงานใหม่ + ผู้ว่างงานที่หางานทำ + ผู้ว่างงานที่ไม่หางานทำ Supply(Con2) = อุปทานแรงงานใหม่ + ผู้ว่างงานที่หางานทำ ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,2552 เปรียบเทียบอุปสงค์แรงงานและอุปทานแรงงานในตลาดแรงงาน จำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2553-2562 30
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ คุณวุฒิวิชาชีพ TQF/ VQR
ความคาดหวัง สถานประกอบการ กับนักศึกษาอาชีวะ
ความต้องการเชิงคุณภาพความต้องการเชิงคุณภาพ 1) ความรู้และทักษะที่จำเป็น • การติดต่อสื่อสารภาษาไทยภาษาอื่น • ITการคำนวณเบื้องต้นการใช้ตัวเลข • การบริหารจัดการ
ความต้องการเชิงคุณภาพความต้องการเชิงคุณภาพ 1) ความรู้และทักษะที่จำเป็น • การคิดวิเคราะห์ / การแก้ปัญหา • ทำงานเป็นทีมกับคนที่หลากหลาย • การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ความต้องการเชิงคุณภาพความต้องการเชิงคุณภาพ 2) ความรู้และทักษะวิชาชีพ • Multi Skillsมีประสิทธิภาพสูง • พื้นฐานเชิงช่าง • คิดริเริ่มสร้างสรรค์ วิธีทำงาน นวัตกรรม • ของสินค้า และบริการเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
ความต้องการเชิงคุณภาพความต้องการเชิงคุณภาพ 3) คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ • ซื่อสัตย์ จงรักภักดี รักต่อองค์กร • อดทน ขยันหมั่นเพียร ประณีต • รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา • เสียสละ ทุ่มเท มีวินัย
ความต้องการเชิงคุณภาพความต้องการเชิงคุณภาพ 3) คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ (ต่อ) • ความคิดในเรื่องความคุ้มค่าของการลงทุน • กระตือรือร้น มีวุฒิภาวะพร้อมในการปฏิบัติงาน • มุ่งมั่น คิดในเชิงบวก มุ่งผลสำเร็จ • ใฝ่รู้ • มีภาวะผู้นำ
เครื่องมือสู่..การมีงานทำตรงความต้องการสถานประกอบการเครื่องมือสู่..การมีงานทำตรงความต้องการสถานประกอบการ ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
V-Cop Board ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา (Demand & Supply) www.v-cop.net
กรอบแนวคิดการผลิตกำลังคน อาชีวศึกษา ให้ตรงกับความต้องการกับสถานประกอบการ ภาวะการทำงานทำของประชากร ข้อมูลการจัดหางาน เศรษฐกิจ การลงทุน ภาคอุตสาหกรรม/ พาณิชกรรม / การท่องเที่ยว แผนการผลิตกำลังคนด้านอาชีวศึกษา เชิงปริมาณและคุณภาพ วิทยาลัยเกษตรฯ วิทยาลัยเทคนิคตรัง วิทยาลัยสารพัดช่าง วิทยาลัยการอาชีพตรัง /กันตัง /ปะเหลียน / ห้วยยอด ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
เครื่องมือสู่...ความร่วมมือwww.v-cop.netเครื่องมือสู่...ความร่วมมือwww.v-cop.net
ท่านคือ... ผู้ขับเคลื่อน สู่ความสำเร็จ