990 likes | 1.5k Views
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 15 มกราคม 2552. Business Finance ( ลงทุนให้รวย...ด้วยกองทุนรวม). คุณณัฐพงษ์ อภินันท์กูล บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำกัด.
E N D
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 15 มกราคม 2552 Business Finance (ลงทุนให้รวย...ด้วยกองทุนรวม) คุณณัฐพงษ์ อภินันท์กูล บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำกัด การลงทุนมีความเสี่ยงผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลให้ดีก่อนตัดสินใจลงทุนเอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ข้อมูลในการศึกษาเบื้องต้นเท่านั้น มิได้เป็นการแนะนำการลงทุนส่วนบุคคล
ลงทุนให้รวย...ด้วยกองทุนรวมลงทุนให้รวย...ด้วยกองทุนรวม 1. ความฝัน/เป้าหมายของฉัน 2. รู้สักนิด ก่อนคิดจะใช้ 3. จัดทัพลงทุน 4. ปฏิบัติการลงทุน
ถนนชีวิต ส่งลูกเรียน ค่าใช้จ่ายประจำวัน ค่ารักษา พยาบาล เกษียณ ซื้อบ้าน ซื้อรถ ดูแลพ่อแม่
ช่วงชีวิต & ความต้องการ เป้า ใกล้ ไกล
ตะเกียงวิเศษของอาละดินตะเกียงวิเศษของอาละดิน ยักษ์จากตะเกียงวิเศษ: นายท่านสามารถอธิษฐาน ขออะไรก็ได้ 3 ข้อ • ฉันต้องการ ... • ฉันต้องการ ... • ฉันต้องการ ...
หน้าที่ของตะเกียง ตะเกียงฝันของชีวิต • ให้ความหวัง มีกำลังใจว่ามีทางออก • ให้รู้ทิศไม่หลงทางเสียเวลา • ให้ความสว่างเห็นหลุมบ่อ หลบเลี่ยงได้ • เป็นแรงบันดาลใจ มีสิ่งที่ดีงามเป็นรางวัลรออยู่ • ให้รู้ทิศเป้าหมายไม่หลงออกนอกทาง • ให้เกิดปัญญาเอาชนะอุปสรรค ตะเกียงไฟที่ปากถ้ำ Steven Covey’s 2nd Habit: Start with an end in mind
ลักษณะของความฝันที่ดี ตัวอย่าง ลักษณะ • ฉันจะเก็บเงินเดือนละ 5,000บาท เพื่อเป็นเงินดาวน์บ้าน 400,000 บาทในอีก 5 ปีข้างหน้า • ฉันจะเรียนพูดภาษาจีน เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง ให้ได้ใน 2 ปี • เป็นรูปธรรม • สอดคล้องกับความเป็นจริง • แบ่งเป็นช่วงเวลาต่างๆ
ความฝันที่ฉันมีคือ 1. 2. 3. 4. 5.
หากฉันมีเวลามากกว่านี้และมีเงินมากกว่านี้ สิ่งสำคัญที่ฉันอยากทำคือ 1. งานอดิเรก (เช่น สะสมหนังสือหายาก, วาดภาพสีน้ำ,ท่องเที่ยว) 2. การพัฒนาตนเอง (เช่น เรียนการวิเคราะห์หลักทรัพย์) 3. อาชีพ (เช่น เริ่มทำธุรกิจขายดอกไม้, รับเป็นที่ปรึกษาการทำบัญชี) 4. สุขภาพ (เช่น ลดน้ำหนัก 5 กก.โดยการว่ายน้ำ)
จัดลำดับความสำคัญ ความฝันลำดับที่ 1 งบประมาณเท่าใด ภายในระยะเวลาเท่าใด ความฝันลำดับที่ 2 งบประมาณเท่าใด ภายในระยะเวลาเท่าใด ความฝันลำดับที่ 3 งบประมาณเท่าใด ภายในระยะเวลาเท่าใด
2. รู้สักนิด ก่อนคิดจะใช้
ฝัน...อยากจะรวย รวย มั่งคั่ง = รายได้ รายจ่าย (เน้นความมี) (เปรียบเทียบ ความมีกับความต้องการ)
ทางสู่ความมั่งคั่ง ขยายโดยเพียรสร้างสินทรัพย์ ออม รายได้ รายจ่าย ลงทุน ลดโดยความพอเพียง คาถาสำเร็จ:พอ & เพียร
งบกำไรขาดทุนของฉัน รายได้ - รายจ่าย กำไร คนจน ชนชั้นกลาง คนรวย ขาดทุน เส้นแบ่งความจน กำไร
รายได้ -รายจ่าย กำไร งบกำไรขาดทุนของฉัน คนจน ชนชั้นกลาง คนรวย ขาดทุน เส้นแบ่งความจน กำไร เอากำไรไปก่อหนี้ เส้นแบ่งความรวย เอากำไรไปลงทุน
รายได้ เงินเดือน, โบนัส ค่าเช่า เงินปันผล, ดอกเบี้ย
รายจ่าย ค่าโทรศัพท์ ผ่อน/ซ่อมรถ ค่าบัตรเครดิต ผ่อน/ซ่อมบ้าน ค่าอาหาร Etc.,,,
คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??...คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??... หัก รายจ่าย รายได้ เงินออม =
คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??...คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??... เงินเก็บและเงินลงทุน เหลือ เงินออม ไม่เหลือ ก่อหนี้ หมด!!!
คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??...คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??... ขั้นตอนที่ 1 ระบุรายรับ
คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??...คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??... รายรับของคุณ ได้แก่
คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??...คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??... ขั้นตอนที่ 2 ระบุรายจ่าย • มี 3 ประเภท • รายจ่ายเพื่อการดำรงชีวิต • รายจ่ายเพื่อการเข้าสังคม • รายจ่ายเพื่อความบันเทิง
คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??...คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??... ขั้นตอนที่ 3 คำนวณเงินออม
คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??...คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??... มาดูเงินคงเหลือของคุณกันดีกว่า...
Survival Ratio อัตราส่วนความอยู่รอด ความมั่งคั่งระดับต้น รายได้จากการทำงาน + รายได้จากทรัพย์สิน = รายจ่าย Survival Ratio1อยู่รอดได้ด้วยตนเอง ความเป็นไทขั้นต้น คือ การอยู่รอดได้ด้วยตนเอง
Wealth Ratio อัตราส่วนความมั่งคั่ง ความมั่งคั่ง Wealth Ratio1อิสรภาพทางการเงิน เป้าหมายสำคัญที่ควรจะตั้งไว้คือ การมีอิสรภาพทางการเงินในที่สุด รายได้จาก สินทรัพย์ * = รายจ่าย * รายได้จากสินทรัพย์หมายถึง รายได้จากเงินฝาก, หุ้น, ตราสารหนี้, กองทุนรวม, อสังหาริมทรัพย์ ที่มา : หนังสือจัดทัพลงทุนดร.สมจินต์ ศรไพศาล
แบบทดสอบ อุปนิสัยการใช้จ่าย
แบบทดสอบ อุปนิสัยการใช้จ่าย (ต่อ)
แบบทดสอบ อุปนิสัยการใช้จ่าย (เฉลย) เป็นคนไม่สนใจสิ่งใด ขาดการวางแผนการออมและการใช้จ่าย ถ้าไม่ได้ใช้เงินจะรู้สึกไม่สบายใจ เงินไม่พอใช้เสมอ 15ข้อขึ้นไป เป็นคนทำตามอารมณ์และความรู้สึกของตนเอง เมื่อมีเงินก็ใช้จนหมดและมานั่งเสียใจภายหลัง 9 – 14 ข้อ เป็นคนที่ประหยัดมัธยัสถ์ วางแผนการใช้เงินเสมอ รู้จักใช้เงิน ถ้ามีสิ่งใดที่อยากได้ก็จะเก็บเงินซื้อ 4 – 8 ข้อ มีอนาคตที่มั่นคง มีเหตุผลในการใช้เงินเสมอ ใช้เฉพาะในส่วนที่จำเป็นจริงๆ หากไม่ใช้เงินเลยอาจถูกเพื่อนล้อว่าขี้เหนียวได้ 0 – 3 ข้อ
ค่าใช้จ่ายเล็กน้อยประจำวันค่าใช้จ่ายเล็กน้อยประจำวัน
รายจ่ายบางอย่างที่เราเห็นว่ามันเป็นสิ่งเล็กน้อยรายจ่ายบางอย่างที่เราเห็นว่ามันเป็นสิ่งเล็กน้อย 288,000บาท 28,800 บาท การดื่มกาแฟ 1 แก้ว ต่อ 1 วัน 2,400 บาท 560 บาท 80 บาท
รายจ่ายเล็กน้อย...แท้ที่จริงคือศัตรูของความฝันรายจ่ายเล็กน้อย...แท้ที่จริงคือศัตรูของความฝัน
คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??...คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??... • ลองมามองรายจ่ายอีกแง่มุมหนึ่งดีกว่า... • รายจ่ายที่จำเป็น • รายจ่ายที่ไม่จำเป็น • รายจ่ายที่ควรหลีกเลี่ยง
คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??...คุณวางแผนทางการเงินแล้วหรือยัง??...
9 เคล็ด(ไม่)ลับการออม 1. ออมก่อนใช้ 2. ทำบัญชีการใช้เงิน 3. วางแผนการใช้เงินก่อนใช้ 4. ตัดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น 5. เลือกใช้สินค้าคุณภาพดี ราคาเหมาะสม 6. ลดการใช้อย่างสิ้นเปลือง (รวมพลังหารสอง) 7.ใช้ประโยชน์จากของให้ได้หลายอย่าง 8. รู้จักการนำเงินออมไปหาดอกผล 9. เพิ่มรายได้จากงานพิเศษ
ยินดีเสียเหงื่อ เพื่อหารายได้ รายได้ -รายจ่าย กำไร รายได้ -รายจ่าย กำไร รายได้ -รายจ่าย ขาดทุน รายได้ -รายจ่าย กำไร คุมรายจ่าย ลงทุน ลงทุน ควบคุมใจกาย ให้มีรายเหลือ เกื้อสร้างสินทรัพย์ สู่ความเป็นไท เส้นทางเศรษฐี
อัตราผลตอบแทนของหุ้น พันธบัตร และเงินฝาก1999-2007
อัตราผลตอบแทนของหุ้น พันธบัตร และเงินฝาก1999-2007 อัตราผลตอบแทนการลงทุนในแต่ละปี เงินรวม หากลงทุนเริ่มต้น 100 บาท ณ สิ้นปี 1998
คำถามสำคัญ • ข้อสังเกต • ผลตอบแทนเฉลี่ยของหุ้นสูงกว่าของพันธบัตรและเงินฝากอย่างมีนัยสำคัญ(ข้อมูลอดีตของสหรัฐก็มีความคล้ายคลึงกัน) • แต่หุ้นมีความเสี่ยงสูง(ผันผวน)กว่าเป็นอย่างมากเช่นกัน • คำถามสำคัญ • ทำอย่างไรจึงจะสามารถได้ประโยชน์จากผลตอบแทนที่ดีของหุ้นและพันธบัตรโดยมีความเสี่ยงระดับที่ยอมรับได้ • คำตอบ • ต้องมีการกระจายความเสี่ยง (โดยการจัดทัพลงทุนในหลายประเภทหลักทรัพย์) • ต้องพยายามหลีกเลี่ยงการขาดทุนจำนวนมากให้ได้มากที่สุด (โดยพยายามเข้าใจเรื่องจังหวะและอารมณ์ของตลาด)
จัดทัพ ด้วย 3 กองกำลัง ทัพฟุตบอล VS. ทัพลงทุน ผู้รักษาประตู กองหน้า หุ้นทุน(stock) กองกลาง พันธบัตร, หุ้นกู้ (bond) กองหลัง ตราสารระยะสั้น(cash) เงินสำรอง
พอร์ทระมัดระวัง พอร์ทปานกลาง พอร์ทเชิงรุก ทัพลงทุนตัวอย่าง หมายเหตุ: Geometric mean คือค่าเฉลี่ยแบบคิดทบต้น
ผลตอบแทนจากการลงทุนสัดส่วน หุ้น 30%พันธบัตร 70% - no timing