1 / 23

แนวทางการบริหารจัดการกองทุนโรคไต

แนวทางการบริหารจัดการกองทุนโรคไต. งบประมาณที่ได้รับปี 2554. แนวทางการบริหารจัดการกองทุนโรคไต 2554. Hemodialysis. Peritoneal Dialysis. Kidney Transplantation. สิทธิประโยชน์ ผู้ป่วย ในการบำบัดทดแทนไต. KT ฟรีทุกราย CAPD First ทุกราย CAPD ไม่ได้  คณะกรรมการฯ จังหวัด  HD ได้ ฟรี

sybil
Download Presentation

แนวทางการบริหารจัดการกองทุนโรคไต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการบริหารจัดการกองทุนโรคไตแนวทางการบริหารจัดการกองทุนโรคไต

  2. งบประมาณที่ได้รับปี 2554

  3. แนวทางการบริหารจัดการกองทุนโรคไต 2554 Hemodialysis Peritoneal Dialysis Kidney Transplantation

  4. สิทธิประโยชน์ ผู้ป่วย ในการบำบัดทดแทนไต

  5. KT ฟรีทุกราย CAPD First ทุกราย CAPD ไม่ได้ คณะกรรมการฯ จังหวัด  HD ได้ ฟรี CAPD ได้ แต่ ไม่ยอมทำ  ผู้ป่วย รับผิดชอบเอง HD รายเก่าก่อน 1 ตค. สิทธิ UC ใช้สิทธิ HD แบบ co-pay HD รายเก่า ก่อน 1 ตค. สิทธิ ประกันสังคม , สิทธิข้าราชการ ถ้าต้องการ HD ต่อ คณะกรรมการฯ จังหวัด มีสิทธิ Co-pay ได้ (เริ่มมีผล 1 สค. 52)

  6. แนวทางการพัฒนาระบบบริการทดแทนไตฯ • ขยายบริการและเริ่มต้นที่ PD ทุกรายที่ไม่มีข้อห้าม เป้าหมายภายในปี 2555 มีผู้ป่วย PD 50% ของผู้ป่วยทั้งหมด • ให้ผู้ป่วย PD/KT ฟรี และ HD ร่วมจ่ายแบบ fix rate • พัฒนาระบบ PD/HD/KT มีมากเพียงพอ, ได้มาตรฐาน, เป็นธรรมในการเข้าถึง และบริหารงบอย่างมีประสิทธิภาพ • ให้มีการควบคุมและพัฒนาคุณภาพ ควบคู่กับการวิจัยและพัฒนาระบบข้อมูล • ให้ดำเนินการบริการทดแทนไต ควบคู่กับการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง • ให้ผู้ป่วย, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสังคมมีส่วนร่วม

  7. แนวทางการจัดบริการ CAPD

  8. สาระสำคัญในประกาศ (CAPD) การสนับสนุน แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 การสนับสนุนน้ำยา CAPD ยา EPO สาย TK ผ่านระบบ VMI ส่วนที่ 2 การจ่ายชดเชยค่าบริการ * ค่าชดเชยค่าบริการแบบเหมาจ่าย 4000 /ผป.1ราย/เดือน * ค่าสนับสนุนตามภาระงานแก่แพทย์ พยาบาล จนท.อื่น 2,000 /ผป.1ราย/เดือน * ค่าสนับสนุนตามภาระงาน แก่แพทย์ที่ผ่านการอบรมวางสาย TK 2,000/ราย * สนับสนุนหน่วยบริการจัดกิจกรรมอาสาสมัคร 60,000/ปี (หน่วยที่มีผู้ป่วยใน ความดูแลมากกว่า 30ราย)

  9. หลักเกณฑ์การสนับสนุนและชดเชย CAPD • ผู้ป่วย ต้องมีสิทธิ UC • ลงทะเบียนใน DMIS_CAPD และ บันทึกผลการติดตามทุกเดือน - เมื่อ ผู้ป่วย ย้ายหน่วยบริการ สปสช. จะจ่ายให้หน่วยบริการที่ให้การรักษา - ทำ Temporary ไม่เกิน 90 วัน/ปี จ่าย 1500 บาท/ครั้ง - กรณีเปลี่ยนเป็น Permanent HD ต้องเข้า คณะกรรมการฯจังหวัด - กรณีมีภาวะแทรกซ้อน อื่นๆ นอกเหนือจาก CAPD / ให้เบิกตามระบบปกติสปสช.

  10. แนวทางการจัดบริการการฟอกเลือด HD

  11. แนวทางการจัดบริการ HD การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ /สถานบริการ • ส่งหนังสือแสดงความจำนง • ใช้เกณฑ์ประเมิน ตรต. (สมาคมโรคไตฯ) • เขตขึ้นทะเบียน ประเภท 2.1 หน่วยบริการ / สถานบริการทำสัญญาระยะยาว 2.2 สถานบริการทำสัญญา ชั่วคราว ( พยายาม2.1) การลงทะเบียนผู้ป่วย • ผู้ป่วย ที่ผ่าน คณะกรรมการฯจังหวัด • ลงทะเบียนในโปรแกรม DMIS_HD • IT ส่งชื่อ ลงทะเบียนในโปรแกรม สกส. เดือนละ 2 ครั้ง วิธีการเบิก • Key เบิกผ่านโปรแกรม สกส.

  12. ประกาศการให้บริการใหม่ ( ตั้งแต่ 1 สค 52 เป็นต้นไป) • ค่าฟอกเลือด HD ไม่จำกัดจำนวนครั้งต่อสัปดาห์ ตามหลักเกณฑ์ของสมาคมโรคไตฯ 2. เพิ่ม ราคาการฟอกเลือด HD ใน ผู้ป่วยอายุมากกว่า 60 ปี + มีโรคเรื้อรังเกี่ยวกับอวัยวะอื่น + และฟอกเลือดในหน่วยบริการที่มีบริการ ICU เป็น 1,700 บาท/ครั้ง 3. เบิกยา EPO ชดเชยได้ตามหลักเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนด พิจารณาจาก - ระดับ HCT - รายการยาที่เลือก ( รายละเอียด ตามประกาศ) 4. ค่าบริหารจัดการ ค่าบริการอื่นๆ เรื่องยา 50 บาท/ราย หรือ 200 บาท/เดือน 5. การทำ Shunt ชดเชยค่าบริการตามจริงแต่ไม่เกิน 20,000 บาท ต่อ ผู้ป่วยหนึ่งราย ต่อ 2 ปี ไม่จำกัดจำนวนครั้ง

  13. สรุปเงื่อนไข การได้รับ 1700 ต้อง 1+2 เท่านั้น 1 ผู้ป่วย: อายุ มากกว่า 60 ปี มีโรคเรื้อรังเกี่ยวกับอวัยวะอื่น เช่น โรคหัวใจ ปอด ตับ ร่วมด้วย 2 หน่วยบริการ :เป็น 2.1 ต้องมี / ให้บริการ ICU หมายเหตุ : มีผลตั้งแต่ 1สค.52 เป็นต้นไปแต่สิทธิของผู้ป่วย จะได้รับในวันที่ผ่านการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการระดับจังหวัด และ สปสช. ได้ส่งรายชื่อเข้าในโปรแกรม สกส.

  14. สรุป ประเภท และ สิทธิ ผป. HD ปรับอัตราการจ่าย เพิ่มเติม 1700 บาท

  15. สรุปการสนับสนุน ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย CAPD / HD ปรับใหม่ (หลัง 1 พค. 52) • Temporary HDกรณี • มี CAPD complication • มีความจำเป็นต้อง HD ระหว่างรอCAPD สปสช. จ่าย 1500 บาท / ครั้ง ไม่เกิน 90 วันต่อปี HD รายเก่าก่อน 1 ต.ค.51 สปสช .จ่าย 1000 บาท /ครั้ง , 1200 บาท/ครั้ง ( อายุเกิน60 ปี+มีโรคเรื้อรัง) + ผป.co-pay 500) CAPD น้ำยา CAPD /สายTK/ ยา Epo เบิกจาก อภ.VMI HDรายใหม่/Shunt จากCAPD->HDสปสช. จ่าย 1500 บาท/ครั้ง , 1700บาท/ครั้ง (อายุเกิน60 ปี+มีโรคเรื้อรัง) ค่าสนับสนุนตามภาระงาน2,000บาท/ราย/เดือน. ค่าทำ Shunt (TCC, AVG, AVF, Double lumen) เหมาจ่าย 20000 /คน / 2 ปี ค่าใช้จ่ายในการบริการ4,000บาท/ราย/เดือน. จัดกิจกรรมอาสาสมัคร 60,000บาท /ปี (ผป. >30) ยา Epo ตามระดับ Hct. ผ่าน อภ.VMI • ค่าวางสาย tenchkoff catheter แพทย์ 2,000 บาท : ราย

  16. หน่วยบริการบำบัดทดแทนไตจังหวัดร้อยเอ็ดหน่วยบริการบำบัดทดแทนไตจังหวัดร้อยเอ็ด • ล้างไตผ่านทางช่องท้อง รพ.ร้อยเอ็ด • การฟอกเลือด • รพ.ร้อยเอ็ด - รพ.สุวรรณภูมิ • รพ.เสลภูมิ - รพ.เกษตรวิสัย • รพ.หนองพอก - รพ.กรุงเทพจุรีเวช • รพ.ร้อยเอ็ดธนบุรี - รพ..ค่ายฯ • KT

  17. แนวทางการจัดบริการการปลูกถ่ายไต และรับยากดภูมิ

  18. คุณสมบัติผู้รับไต KT (recipient) • เป็นผู้ป่วยสิทธิ UC ที่มีภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย และได้รับอนุมัติให้ • ปลูกถ่ายไต จะต้องทำการปลูกถ่ายไตในหน่วยบริการที่ทำข้อตกลงกับ • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ดังนี้ • ผู้รับบริจาคต้องอยู่ในระหว่างการรักษาแบบ CAPD หรือ HD (กรณีรับไตจากผู้บริจาคสมองตาย) • ผู้รับบริจาคต้องมี GFR<10 CC”/min/1.73 m2 โดยไม่จำเป็นต้องรับการรักษาใดๆมาก่อน (กรณีรับไตจากผู้บริจาคที่มีชีวิต) • อายุไม่เกิน 60 ปี

  19. KT คุณสมบัติผู้รับไต KT (recipient) (ต่อ) • 4 ไม่มีข้อห้ามทางการแพทย์ ได้แก่ • Active infection • ติดเชื้อ HIV • Chronic liver disease ตามหลักเกณฑ์ข้อบังคับสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย • โรคมะเร็ง หากเคยเป็นต้องหายขาดมาแล้วอย่างน้อย 3 ถึง 5 ปี • ไม่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการผ่าตัด (Ischemic heart disease, • Congestive heart failure, Chronic obstructive pulmonary disease) • ไม่มี Persistent coagulation abnormality • ไม่มี Psychiatric disorder • ไม่เป็นผู้ติดยาเสพติด

  20. สนับสนุนค่าใช้จ่ายก่อนการปลูกถ่ายไตสนับสนุนค่าใช้จ่ายก่อนการปลูกถ่ายไต • ค่าใช้จ่ายสำหรับผู้บริจาค • 1.1 ค่าเตรียมและผ่าตัดผู้บริจาคที่สมองตาย จำนวน 40,000 บาท • 1.2 ค่าเตรียมผู้บริจาคที่มีชีวิต • - ก่อนเข้ารับการผ่าตัด จำนวน 40,000 บาท (จ่ายไม่เกิน 2 ครั้ง) • - ระหว่างเข้ารับการผ่าตัด จำนวน 32,800 บาท

  21. สนับสนุนค่าใช้จ่ายก่อนการปลูกถ่ายไต (ต่อ) 2. ค่าใช้จ่ายสำหรับเตรียมผู้ป่วย 2.1 ค่าเตรียมผู้รับบริจาคก่อนเข้ารับการผ่าตัด จำนวน 31,300 บาท 2.2 ค่าเตรียมผู้รับบริจาคระหว่างรอผู้บริจาคที่สมองตาย (Panel reactive antibody) ทุก 3 เดือน ครั้งละ 1,800 บาท

  22. สนับสนุนค่าใช้จ่าย ยากดภูมิ หลังการปลูกถ่ายไต ครอบคลุมการตรวจรักษา ยากดภูมิคุ้มกัน ตรวจทางห้องปฏิบัติการตรวจปัสสาวะ ตรวจระดับยากดภูมิคุ้มกัน เหมาจ่ายในอัตราดังต่อไปนี้ ปีที่ 1 เดือนที่ 1-6 เดือนละ 30,000 บาท เดือนที่ 7-12 เดือนละ 25,000 บาท ปีที่ 2 เดือนละ 20,000 บาท ปีที่ 3 เป็นต้นไป เดือนละ 15,000 บาท

  23. บ๋ า ย บ า ย

More Related