1 / 5

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไฟฟ้า  อุตสาหกรรมเกษตร. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน

Download Presentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไฟฟ้า  อุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์จากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดนครราชสีมา สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 1,460 แห่ง (สปช. 1,350 แห่ง สศ.110 แห่ง) สังกัด เอกชน 195 แห่ง สังกัด กศน. 30 แห่ง สังกัด สกอ. 5 แห่ง สังกัด สอศ. 12แห่ง 1. วท.นครราชสีมา 2. วท.ปักธงชัย 3. วท.หลวงพ่อคูณปริสุทโธ 4. วท.สุรนานี 5. วอศ.นครราชสีมา 6. วบท.นครราชสีมา 7. วษท.นครราชสีมา 8.วช.นครราชสีมา 9. วก.บัวใหญ่ 10. วก.พิมาย 11. วก.ชุมพวง 12. วก.ปากช่อง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • มีเนื้อที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ1 ของภาคและประเทศไทย • เป็นประตูสู่ภาคอีสาน • มีประชากรเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อันดับ 1 ของภาค • เป็นศูนย์กลางทางด้านคมนาคมของภาคฯตอนล่าง • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 48,113บาท ต่อปี (อันดับ 2 ของ • ภาค อันดับ 47ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับ จากสาขาการผลิต • อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 24.7% รองลงมาการขายส่ง • การขายปลีก16.4 % และภาคเกษตร 14.64 % • อาชีพหลักของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ ปลูกข้าวนาปี ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • และการปศุสัตว์ • ประชากร • จำนวนประชากร 2,546,763 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 จำนวน 185,943 คน หรือ 10.89% • จำนวนผู้ว่างงาน 23,326 คน เป็นชาย 8,718 คน เป็นหญิง 14,608 คน อัตราการว่างงาน 0.87 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 607,997 คนหรือ 40.98% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 285,429 คน หรือ 19.24 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้า 2) ช่างติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในบ้าน 3) ช่างซ่อมโทรศัพท์มือถือ • 4) การทำขนมอบ 5) สิ่งประดิษฐ์จากผลิตภัณฑ์ผ้าไหม 6) การทำน้ำนมข้าวโพด • 7) ช่างซ่อมเครื่องยนต์เล็ก 8) เลี้ยงปลาและปลูกพืชผัก 9) ซ่อมรถจักรยานยนต์ • 10) การจับจีบผ้าในงานพิธีต่าง ๆ 11) การทำขนมอบกล้วยหอม • 12) การทำเครื่องปั้นดินเผา (ที่มา อศจ. นครราชสีมา) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 598,017คน หรือ 40.31% ลำดับรองลงมา ทำงานส่วนตัว 427,522 คน หรือ 28.81% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 337,824 คน หรือ 22.77 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 48,648 คน หรือ 3.28% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 1,179,589 คน หรือ 79.5% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 30,017คน หรือ 2.02%สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม สถานประกอบการ 85 แห่ง มีการจ้างงาน 23,422 คน รองลงมาอุตสาหกรรมไฟฟ้า มีสถานประกอบการ 46 แห่ง มีการจ้างงาน 16,861 คนรองลงมา และอุตสาหกรรมอาหาร สถานประกอบการ 229 แห่ง มีการจ้างงาน 14,859 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  3. จังหวัดชัยภูมิ สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 820 แห่ง (สปช. 755 แห่ง สศ. 65 แห่ง) สังกัด เอกชน 33 แห่ง สังกัด กศน. 15 แห่ง สังกัด สกอ. 1 แห่ง สังกัด สอศ. 5 แห่ง 1. วท.ชัยภูมิ 2. วษท.ชัยภูมิ 3. วช.ชัยภูมิ 4. วก.บำเหน็จณรงค์ 5. วก.แก้งคร้อ • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เนื้อที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของภาค และใหญ่เป็น • อันดับ 7 ของประเทศไทย • มีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจหลักของภาค คือ • จังหวัด ขอนแก่น และนครราชสีมา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 30,395 บาท ต่อปี (อันดับ 9 ของ • ภาค อันดับ 67 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 24.62 % รองลงมาจาก • ภาคเกษตร 23.81% • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • ผ้าไหม • ประชากร • จำนวนประชากร 1,116,934 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 จำนวน 81,552 คน หรือ 10.81% • จำนวนผู้ว่างงาน 9,993 คน เป็นชาย 4,997 คน เป็นหญิง 4,996 คน อัตราการว่างงาน 0.9 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 337,089 คนหรือ 56.41% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • ยังไม่ได้รับข้อมูลจาก อศจ. • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 244,724 คน หรือ 40.95% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 183,434 คน หรือ 30.69% และลูกจ้างเอกชน 103,569 คน หรือ 17.33% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 6,836 คน หรือ 1.14% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษามีถึง 488,305 คน หรือ 81.71% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 13,181 คน หรือ 2.21% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 28 แห่ง มีการจ้างงาน 12,025 คน ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  4. จังหวัดบุรีรัมย์ สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 913 แห่ง (สปช. 844 แห่ง และ สศ. 69 แห่ง) สังกัด เอกชน 43 แห่ง สังกัด กศน. 22 แห่ง สังกัด สกอ. 2 แห่ง สังกัด สอศ. 6 แห่ง 1.วท.บุรีรัมย์ 2. วท.คูเมือง 3. วษท.บุรีรัมย์ 4.วช.บุรีรัมย์ 5. วก.นางรอง 6. วก.สตึก • .ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศใต้ มีเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย • ทิศตะวันตก มีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจของภาค • และประเทศไทย ได้แก่ ทิศเหนือติดกับจังหวัดขอนแก่น • ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดนครราชสีมา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 26,992 บาท ต่อปี (อันดับ 15 • ของภาค อันดับ 72 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 28.28 % รองลงมา • ภาคเกษตร 13.9 % และสาขาการผลิตอุตสาหกรรม • 11.84% • อาชีพหลักของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนา และปลูกพืชไร่ คือ • มันสำปะหลัง อ้อย ปอ งาดำและยางพารา สำหรับสินค้า • ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ผ้าไหม • ประชากร • จำนวนประชากร 1,531,430 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 จำนวน114,118 คน หรือ11.31% • จำนวนผู้ว่างงาน 23,211 คน เป็นชาย 16,827 คน เป็นหญิง 6,384 คน อัตราการว่างงาน 1.4 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 481,003 คนหรือ 57.41% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 115,899 คน หรือ 13.83 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • ยังไมได้รับข้อมูลจาก อศจ. • ประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 330,262 คน หรือ 39.42% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 263,918 คน หรือ 31.50 % และเป็นลูกจ้างเอกชน 173,245 คน หรือ 20.68% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 31,797 คน หรือ 3.8% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา693,376 คน หรือ 82.76% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 7,732 คน หรือ 0.92% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 21 แห่ง มีการจ้างงาน 4,565 คน รองลงมาอุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 3,129 แห่ง มีการจ้างงาน 4,498 คน ข้อมูลล่าสุดณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  5. จังหวัดสุรินทร์ สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 831 แห่ง (สปช.757 แห่ง และ สศ.74 แห่ง) สังกัด เอกชน 34 แห่ง สังกัด กศน. 17 แห่ง สังกัด สกอ. 3 แห่ง สังกัด สอศ. 7 แห่ง 1. วท.สุรินทร์ 2. วอศ.สุรินทร์ 3. วช.สุรินทร์ 4. วก.ท่าตูม 5. วก.สังขะ 6. วก.ศีขรภูมิ 7. วก.ปราสาท • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศใต้มีเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดนช่องจอม • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 23,906 บาท ต่อปี (อันดับ 17 • ของภาค อันดับ 74 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจาก การขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 27.78 % รองลงมา • ภาคเกษตร 19.47 % • อาชีพหลักของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนาข้าว ทำสวน และเพาะปลูก • พืชไร่ เช่น มันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยง • สัตว์ และปอแก้ว และสินค้าที่มีชื่อเสียง ผ้าไหม • ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ • ประชากร • จำนวนประชากร 1,374,700 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19จำนวน 104,710 คน หรือ11.66% • จำนวนผู้ว่างงาน 2,800 คน เป็นชาย 2,600 คน เป็นหญิง 200คน อัตราการว่างงาน • 0.36 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 380,600 คนหรือ 49.19% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆในด้านการขายและการให้บริการ 132,000 คน หรือ 17.06 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) หัตถกรรมจากหวาย 2) ทำกระเป๋าจากเศษผ้าไหม 3) ทำไส้กรอกอีสาน/ทำปลาส้ม • 4) หัตถกรรมพื้นบ้าน 5) ประดิษฐ์ดอกไม้จากผ้าใยบัว 6) ประดิษฐ์ดอกไม้จากดินญี่ปุ่น • 7) ผลิตภัณฑ์จากรากไม้ 8) ทำโคมไฟจากเส้นด้าย 9) ทำพวงกุญแจข้าวต้มมัด 10) กลุ่มทำสาวน้อยออร์เดิร์ฟ (ที่มา อศจ.สุรินทร์) • ประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 269,600 คน หรือ 34.84% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 202,600 คน หรือ 26.18 % และเป็นลูกจ้างเอกชน179,700 คน หรือ 23.22% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 30,800 คน หรือ 3.98% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 632,000 คน หรือ 81.68% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 12,900 คน หรือ 1.67% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 31 แห่ง มีการจ้างงาน 1,087 คน ข้อมูลล่าสุดณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

More Related