330 likes | 831 Views
นโยบายการบริหารจัดการน้ำ. โดย นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ อธิบดีกรมชลประทาน. 17 มิถุนายน 2557. สถานการณ์น้ำของประเทศไทย. ทิศทางมรสุม แนวร่องความกดอากาศต่ำ พายุจร. ที่ตั้งของประเทศไทย Tropical Zone. วัฏจักรน้ำของประเทศไทยในปัจจุบัน. ระเหยและไหลซึมลงดิน
E N D
นโยบายการบริหารจัดการน้ำนโยบายการบริหารจัดการน้ำ โดย นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ อธิบดีกรมชลประทาน 17 มิถุนายน 2557
สถานการณ์น้ำของประเทศไทยสถานการณ์น้ำของประเทศไทย
ทิศทางมรสุม แนวร่องความกดอากาศต่ำ พายุจร ที่ตั้งของประเทศไทย Tropical Zone
วัฏจักรน้ำของประเทศไทยในปัจจุบันวัฏจักรน้ำของประเทศไทยในปัจจุบัน ระเหยและไหลซึมลงดิน 506,000 ล้าน ลบ.ม./ปี ฝนเฉลี่ย 1,425.72 มม. ปริมาณฝน 719,500 ล้าน ลบ.ม./ปี ไหลลง คลอง ห้วย ลำธาร 213,303 ล้าน ลบ.ม./ปี ระบบเก็บกักน้ำผิวดิน 76,103 ล้าน ลบ.ม. พื้นที่ชลประทาน 29.78 ล้านไร่ *ปี 2556 เหลือน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติและไหลลงทะเล 137,200 ล้าน ลบ.ม./ปี
ความสามารถการพัฒนาแหล่งน้ำและพื้นที่ชลประทาน 19,867 บางลาง ศรีนครินทร์ 16,183 น้ำบาดาล 3,500 13,681 วชิราลงกรณ์ อุบลรัตน์ ลำปาว สิรินทร 10,798 ภูมิพล ขนาดใหญ่ 69,155 6,408 สิริกิติ รัชประภา 2,529 1,603 แควน้อย 237 492 987 875 ก่อนมีแผน แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4 แผน 5 แผน 6 แผน 7 แผน 8 แผน 9 แผน 10 2505-09 2510-142515-19 2520-24 2525-292530-34 2535-392540-44 2545-49 2550-54 5,469,991 2,694,120 2,983,395 2,226,401 1,904,329 2,268,247 1,455,605 1,329,879 791,815 796,060 547,872 กรมชลประทาน กรมชลประทาน
ผลงานด้านการพัฒนาแหล่งน้ำผลงานด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ หมายเหตุ : ข้อมูล ณ สิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ปริมาณน้ำเก็บกัก 76,103.34ล้าน ลบ.ม. พื้นที่ชลประทาน 29.98 ล้านไร่
สภาพปัญหาเกี่ยวกับน้ำของประเทศไทยสภาพปัญหาเกี่ยวกับน้ำของประเทศไทย 1.ปัญหาการขาดแคลนน้ำ 2.ปัญหาด้านอุทกภัย 3.ปัญหาคุณภาพน้ำ ขาดน้ำดื่ม ขาดน้ำใช้ ขาดระบบประปา ขาดน้ำการเกษตร พื้นที่เกษตร พื้นที่น้ำท่วม คุณภาพน้ำ เสื่อมโทรมมาก เสื่อมโทรม พอใช้ ดี หมู่บ้านขาดแคลนน้ำ เพื่อการอุปโภคบริโภค 19,000 หมู่บ้าน หมู่บ้านขาดแคลนน้ำ เพื่อการเกษตร 14,000 หมู่บ้าน น้ำเสียในลำน้ำสายหลัก 4 ลุ่มน้ำ น้ำท่วม ชนบท 27 ล้านไร่ เมือง 3 ล้านไร่
โครงการตามแผนพัฒนาการชลประทานในระดับลุ่มน้ำอย่างเป็นระบบ(กรอบน้ำ ๖๐ ล้านไร่) เพิ่มปริมาณน้ำเก็บกัก 19,353 ล้าน ลบ.ม. เพิ่มพื้นที่ชลประทาน 31.30 ล้านไร่
การพัฒนาพื้นที่ชลประทาน (จำแนกรายภาค) พื้นที่การเกษตร พื้นที่ชลประทาน พื้นที่ที่มีศักยภาพพัฒนาเป็นพื้นที่ชลประทาน *หมายเหตุ - กรมชลประทานดูแลพื้นที่ชลประทานในส่วนของโครงการขนาดใหญ่ กลาง จำนวน 24.52 ล้านไร่ - ข้อมูล ณ สิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
หลักการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ชลประทานหลักการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ชลประทาน มีแหล่งน้ำต้นทุนและระบบกระจายน้ำ มีการบริหารจัดการน้ำโดย กลุ่มผู้ใช้น้ำ คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำชลประทาน มีน้ำเพียงพอต่อการอุปโภค-บริโภค และรักษาระบบนิเวศน์ตลอดทั้งปี สามารถสนับสนุนการเพาะปลูกในฤดูกาลเพาะปลูกได้อย่างมั่นคง เมื่อสิ้นฤดูฝนหากมีปริมาณน้ำเหลือมากพอจะสามารถสนับสนุนการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งได้จำนวนหนึ่งตามปริมาณน้ำทุนที่มีอยู่
การจัดลำดับความสำคัญการจัดสรรน้ำการจัดลำดับความสำคัญการจัดสรรน้ำ • เพื่อการอุปโภค-บริโภค การประปา • เพื่อการรักษาระบบนิเวศน์ทางน้ำ เช่น การผลักดันน้ำเค็ม การขับไล่น้ำเสีย 3) เพื่อการเกษตรกรรม 4) เพื่อการอุตสาหกรรม 5) เพื่อการคมนาคมทางน้ำ
กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ • ข้อ ๒ ให้กรมชลประทาน มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งน้ำตามศักยภาพของลุ่มน้ำให้เพียงพอ และจัดสรรน้ำให้กับผู้ใช้น้ำทุกประเภท เพื่อให้ผู้ใช้น้ำได้รับน้ำอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ตลอดจนป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ โดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ • ดำเนินการจัดให้ได้มาซึ่งน้ำหรือกัก เก็บ รักษา ควบคุม ส่ง ระบายหรือจัดสรรน้ำเพื่อการเกษตร การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการชลประทาน กฎหมายว่าด้วยคันและคูน้ำ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง • ดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำความปลอดภัยของเขื่อนและอาคารประกอบ และการคมนาคมทางน้ำที่อยู่ในเขตชลประทาน ตลอดจนดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมพิเศษต่าง ๆ ที่ไม่ได้เป็นแผนงานประจำปีของกรม • ดำเนินการจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม • ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่รัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
MISSION • พัฒนาแหล่งน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพของลุ่มน้ำให้เกิดความสมดุล • บริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการให้เพียงพอ ทั่วถึง และเป็นธรรม • ดำเนินการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำตามภารกิจอย่างเหมาะสม • เสริมสร้างการมีส่วนรวมในกระบวนการพัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ
บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน
การบริหารจัดการน้ำในปัจจุบันการบริหารจัดการน้ำในปัจจุบัน • ช่วงฤดูแล้ง : • ปลายฤดูฝน (ต.ค.) ประชุมคณะกรรมการเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติสรุปข้อมูลความต้องการใช้น้ำและศักยภาพน้ำต้นทุนจากพื้นที่ต่างๆ และประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • พิจารณาวางแผนการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง การใช้น้ำตามปริมาณน้ำต้นทุน รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือ และ มาตรการการจัดสรรน้ำ ในช่วงฤดูแล้ง • แจ้งให้ส่วนราชการต่างๆ ทราบ เพื่อประชาสัมพันธ์เกษตรกรผู้ใช้น้ำ และเตรียมความพร้อมในการดำเนินการ รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือต่างๆ
การบริหารจัดการน้ำในปัจจุบันการบริหารจัดการน้ำในปัจจุบัน หน่วยงานหลัก : กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ และ กฟผ. • ช่วงฤดูฝน : โดยปกติจะมีการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค (ส่วนภูมิภาคประสานกับจังหวัดและประชาชน) บริหารจัดการน้ำและให้ความช่วยเหลือตามสถานการณ์น้ำฝน-น้ำท่า และการใช้น้ำต่างๆ พร้อมวางแผนป้องกันน้ำท่วมที่อาจเกิดขึ้นได้
บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน ภารกิจ การบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้ำ ความรับผิดชอบอย่างสมบูรณ์ ในเขตพื้นที่ชลประทาน ในการบริหารน้ำ และพื้นที่เพาะปลูก ให้การสนับสนุนเครื่องจักรเครื่องมือเมื่อได้รับการร้องขอ ในพื้นที่นอกเขตชลประทาน มีแผนการพัฒนาแหล่งน้ำ เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนให้มั่นคง มีแผนการเพิ่มพื้นที่ชลประทาน
บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน ภารกิจ การบรรเทาปัญหาอุทกภัย • หน้าที่ ความรับผิดชอบ อย่างสมบูรณ์ในเขตพื้นที่ชลประทาน การบริหารน้ำ การเตือนภัย • เป็นหน่วยงานสนับสนุนข้อมูลหลัก ดังต่อไปนี้ • ระบบลำน้ำ ทิศทางและปริมาณการไหลของน้ำ ผลกระทบในพื้นที่ • แนวทางการบรรเทาปัญหาเฉพาะหน้า ในการควบคุมน้ำ • มีแนวทาง แผนงานเร่งด่วน ระยะสั้น ระยะปานกลาง ระยะยาว • การสนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่จำเป็น โดยการพิจารณาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด
บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน พื้นที่ในเขตชลประทาน พื้นที่นอกเขตชลประทาน การขาดแคลนน้ำ อุทกภัย
บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน นอกเขตชลประทาน การเตรียมพร้อม