1 / 19

การประยุกต์สถิติ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 15. การประยุกต์สถิติ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กรณีศึกษา :. การปนเปื้อนของเชื้อ ซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์และการ ควบคุมเป็นงานวิจัยของสุมณฑา วัฒนสินธุ์ อรุณ ปางตระกูลนนท์ และธเนศ ชิดเครือ (2546). วัตถุประสงค์ :. เพื่อสำรวจแหล่งที่ มาของวัตถุดิบต่าง ๆ ที่นำมาผสม

sydnee
Download Presentation

การประยุกต์สถิติ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 15 การประยุกต์สถิติ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  2. กรณีศึกษา : การปนเปื้อนของเชื้อ ซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์และการ ควบคุมเป็นงานวิจัยของสุมณฑา วัฒนสินธุ์ อรุณ ปางตระกูลนนท์ และธเนศ ชิดเครือ (2546)

  3. วัตถุประสงค์ : เพื่อสำรวจแหล่งที่ มาของวัตถุดิบต่าง ๆ ที่นำมาผสม เป็นอาหารไก่ รวมทั้งน้ำที่ใช้เลี้ยงไก่

  4. สมมุติฐานหนึ่งของงานวิจัย : H0 : สัดส่วนของเชื้อซัลโมเนลลาที่ ตรวจพบในอาหารสัตว์ของแต่ ละโรงงาน (12 แห่ง)ไม่มีความ แตกต่างกัน

  5. สมมุติฐานหนึ่งของงานวิจัย : H1 : สัดส่วนของเชื้อซัลโมเนลลา ที่ตรวจพบในอาหารสัตว์ของ แต่ละโรงงาน (12 แห่ง) ความ แตกต่างกัน

  6. การดำเนินการศึกษา สุ่มเก็บตัวอย่างวัตถุดิบต่างๆ ที่ใช้ผลิต หรือใช้ผสมเป็นอาหารไก่และอาหารไก่สำเร็จรูปจากโรงงานผลิตอาหารสัตว์ในเขตกทม. และปริมณฑลรวม 12 แห่ง จำนวน 149 ตัวอย่าง สุ่มเก็บน้ำจากฟาร์ม 7 แห่ง จำนวน 20 ตัวอย่าง เพื่อทำการวิเคราะห์

  7. การวัดค่าที่สนใจศึกษาการวัดค่าที่สนใจศึกษา บันทึกการพบหรือไม่พบเชื้อซัลโม เนลลาในตัวอย่างอาหารสัตว์ ของโรงงาน 12 แห่ง แต่ละแห่งทำการตรวจสอบด้วยจำนวนตัวอย่างที่แตกต่างกัน เช่น 3 8 10 13 20 28 .......ฯลฯ และบันทึกทำนอง เดียวกันกับตัวอย่างน้ำของฟาร์ม 7 แห่ง

  8. การวิเคราะห์ทางสถิติ เนื่องจากข้อมูลที่บันทึกมาคือการ “พบ” หรือ “ไม่พบ” เชื้อซัลโมเนลลาในตัวอย่างอาหารสัตว์และทำการคำนวณสัดส่วนตัวอย่างเพื่อทดสอบสมมุติฐาน จะเห็นได้ว่าข้อมูลเป็นจำนวนนับและสิ่ง ที่สนใจคือ สัดส่วนของประชากรที่พบเชื้อซัลโมเนลลา

  9. การวิเคราะห์ทางสถิติ นอกจากนี้การพบเชื้อหรือไม่พบเชื้อซัลโมเนลลาของแต่ละโรงงานเป็นอิสระต่อกัน จึงใช้สถิติไคสแควร์ทดสอบ

  10. ผลการศึกษา จากผลการตรวจพบเชื้อซัลโม เนลลาทั้งหมด 44 ตัวอย่าง จากจำนวนตัวอย่าง 149 ตัวอย่าง ที่เก็บจากโรงงาน ผลิตอาหารสัตว์ 12 แห่งคิดเป็นร้อยละ 29.53

  11. ผลการศึกษา เมื่อจำแนกสัดส่วนการพบเชื้อซัลโมเนลลาตามโรงงานพบว่าอัตราการ พบเชื้อซัลโมเนลลาแตกต่างกันมาก ดังตาราง

  12. สูงสุดพบร้อยละ 80 ในโรงงานรหัส 08ต่ำสุดพบร้อยละ 0 ในโรงงานรหัส 01, 02, 06 และ 11

  13. เมื่อวิเคราะห์ความแตกต่างใน สัดส่วนโดยใช้สถิติไคสแควร์ พบว่าสัด ส่วนการพบเชื้อซัลโมเนลลาในโรงงาน ต่างๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ

  14. ตัวอย่าง จากกรณีศึกษา สมมุติว่ามีโรงงานเพียงสองแห่ง คือ โรงงานรหัส 04 และ โรงงานรหัส 08 ถ้าต้องการพิจารณาว่าสัดส่วนหรือร้อยละการพบเชื้อซัลโมเนลลา ในอาหารสัตว์ของโรงงาน 08 มากกว่าโรงงาน 04 หรือไม่ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05

  15. วิธีทำ กำหนดสมมุติฐาน 1. H0 : สัดส่วนหรือร้อยละของการพบ เชื้อซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์ ของโรงงาน 08 และโรงงาน 04 ไม่แตกต่างกัน (P08 = P04 หรือ P08 - P04 = 0)

  16. วิธีทำ H1 : สัดส่วนหรือร้อยละของการพบ เชื้อซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์ ของโรงงาน 08 มากกว่าโรงงาน 04 (P08  P04 )

  17. 2. กำหนดระดับนัยสำคัญ  = 0.05 3. ค่าสถิติที่ใช้ทดสอบ คือ ^ ^ (P08 - P04) Z = (p08 - p04) - ^ ^ ^ ^ (p04 ) (q04) (p08)(q08) + n08 n04 = (0.80 - 0.357) - 0 (0.80) (0.20) (0.357) (0.643) + 20 28 = 3.48

  18. 0.05 ยอม  o  บริเวณยอมรับ Ho Z คำนวณ = 3.48 Z ตาราง = 1.645 4. ค่า Z จากตารางที่ 3 หน้า 321

  19. ค่า Zคำนวณ  Zตาราง ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0และยอมรับ H1แสดงว่าสัดส่วนหรือร้อยละของการพบเชื้อซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์ของโรงงาน 08 มากกว่าสัดส่วนหรือร้อยละของการพบเชื้อซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์ของโรงงาน 04 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 5. สรุปผลการทดสอบสมมุติฐาน

More Related