390 likes | 545 Views
Clinical Service Profile สาขาบริการ ..................................... . ภาควิชา/ต้น สังกัด ................................. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. Part I Purpose & Overview. หน้าที่ เป้าหมาย ประเด็นคุณภาพสำคัญ ตัวชี้วัด.
E N D
Clinical Service Profile สาขาบริการ ..................................... .ภาควิชา/ต้นสังกัด ................................. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี Part IPurpose & Overview
หน้าที่ เป้าหมาย ประเด็นคุณภาพสำคัญ ตัวชี้วัด
การจัดบริการที่สนับสนุนการบรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ ขององค์กร วิสัยทัศน์:เป็นสถาบันการแพทย์ชั้นนำในระดับสากล พันธกิจ:จัดการศึกษา สร้างงานวิจัย ให้การดูแลสุขภาพและการบริการวิชาการ เพื่อสุขภาวะของสังคม
การใช้ประโยชน์จากค่านิยมหลักขององค์กรการใช้ประโยชน์จากค่านิยมหลักขององค์กร
ความเชื่อมโยงกับกลยุทธ์ขององค์กรความเชื่อมโยงกับกลยุทธ์ขององค์กร
ความต้องการของผู้รับบริการความต้องการของผู้รับบริการ
ทรัพยากร (ผู้ปฏิบัติงาน เครื่องมือ เทคโนโลยี สถานที่)
กลุ่มผู้ป่วยสำคัญของ CLT/PCT ระบุโรคสำคัญให้มากที่สุด ให้คะแนนน้ำหนักความสำคัญของแต่ละโรคตามเกณฑ์ต่างๆ ตั้งแต่ 1-5 เป็นการบอกภาพรวมว่ากลุ่มผู้ป่วยที่สำคัญของ CLT/PCT มีอะไรบ้าง ความสำคัญอาจจะมาจากเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อร่วมกันก็ได้ การสรุปภาพรวมเป็นฐานสำหรับพิจารณาต่อว่าจะทบทวน/สรุปผลคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในกลุ่มใดบ้าง ในประเด็นใดบ้าง
ตัวชี้วัดของ CLT/PCT ตามมิติคุณภาพ คัดลอกโรคสำคัญจากตารางในแผ่นที่ 2 ระบตัวชี้วัดของแต่ละโรคโดยจำแนกตามมิติคุณภาพต่างๆ
ผลการดูแลผู้ป่วยที่สำคัญผลการดูแลผู้ป่วยที่สำคัญ
Part IIIQuality & Safety Practicefor Patient Care Process • ในส่วนนี้เป็นการระบุวิธีการ, good practice, หรือนวัตกรรมที่ทีมใช้ในการดูแลผู้ป่วยในแต่ละขั้นตอน • โดยเน้นในจุดที่มีความเฉพาะหรือเป็นเอกลักษณ์ของผู้ป่วยที่ทีมรับผิดชอบ • เป็นส่วนที่มาทดแทน template “Proxy Disease”
III-1การเข้าถึงและเข้ารับบริการ (Access & Entry) ผู้ป่วยที่ได้ส่งต่อ ได้รับการประเมิน ดูแลเบื้องต้น ประสาน รพ.ที่จะส่งต่อ และเคลื่อนย้าย อย่างเหมาะสม Provision of Essential Services บริการที่จำเป็นสำหรับชุมชนที่รับผิดชอบ Refer การรับผู้ป่วยเข้าไว้ใน ICU อย่างเหมาะสม Initial Assessment& Prompt Response Access to Essential Services Entry to Intensive Service Reduce Barriers การลดอุปสรรคต่อการเข้าถึงต่างๆ Informed Consent ยังมีความต้องการที่จำเป็นอะไรที่มีปัญหาในการเข้าถึง ระยะเวลารอคอยเป็นที่ยอมรับหรือไม่ Entry to General Service การให้ข้อมูลและขอความยินยอมที่ต้องเน้นเป็นพิเศษ Alternative Access การใช้ทางเลือกต่างๆ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงอย่างเต็มศักยภาพ ประสิทธิภาพของการรับผู้ป่วยไว้ดูแลใน รพ. รวมทั้งการ identify ผู้ป่วย
III-2 การประเมินผู้ป่วย (Patient Assessment) ความร่วมมือระหว่างสหสาขาวิชาชีพในการประเมิน และการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ บันทึกผลการประเมินมีความสมบูรณ์ ถูกต้อง และในเวลาที่กำหนด Collaboration Record ความครอบคลุมในการประเมินแรกรับ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยที่มีความต้องการเฉพาะ Identify Important Care & Urgent Care Needed Initial Assessment ผู้ป่วยแต่ละรายได้รับการระบุปัญหา/ความต้องการอย่างครบถ้วน ชัดเจน ทั้งปัญหาที่สำคัญและปัญหาเร่งด่วน การวินิจฉัยโรค มีความชัดเจน มีหลักฐานสนับสนุน Scientific Evidence/CPG Diagnosis Investigation การ investigate เป็นไปตามข้อบ่งชิ้ ในเวลาที่เหมาะสม และทำได้เมื่อต้องการ การใช้ข้อมูลวิชาการเป็นแนวทางในการประเมินและตรวจพิเศษเพื่อการวินิจฉัยที่เหมาะสม Abnormal Result Special Investigation ผลลัพธ์ที่ผิดปกติ ได้รับการยืนยัน และสื่อสารอย่างเหมาะสม การตรวจพิเศษต่างๆ ทำในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและมีทรัพยากร (เทคโนโลยี คน เครื่องมือ) เหมาะสม Review การทบทวนนำไปสู่การปรับปรุงการวินิจฉัยโรคที่เป็นปัญหา (missed, delayed, ill-defined, inappropriate, incorrect)
III-3 การวางแผน (Planning) มีการใช้ข้อมูลวิชาการเป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วย Scientific Evidence/CPG ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบแผน เป้าหมาย บทบาทของสมาชิก และมีการประสานการดูแล ผู้ป่วยแต่ละรายได้รับการระบุปัญหา/ความต้องการอย่างครบถ้วน ชัดเจน Coordinated Patient Care Plan With Team&Goals Communicate & Coordinate Health Problems/ Needs (III-2) แผนการดูแลผู้ป่วย ครอบคลุมเป็นองค์รวม มีเป้าหมายที่ชัดเจน อยู่ในรูปแบบที่ง่ายในการสื่อสารและใช้ประโยชน์เพียงใด Participation of Patients, Families, & Multidisciplinary Team Patient Care (III-4) Review & Update มีการติดตามสภาวะของผู้ป่วยเพื่อทบทวนและปรับแผนการดูแลตามข้อบ่งชี้อย่างทันเวลา ผู้ป่วย ครอบครัว และทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้องมีบทบาทในการวางแผน Ongoing Needs After Discharge Empower Patients & Families for Self Care Discharge Plan แผนจำหน่ายครอบคลุมปัญหาและความต้องการที่จะเกิดขึ้นหลังจำหน่าย ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับการเตรียมความพร้อมจนมีความมั่นใจและความสามารถที่จะดูแลตนเอง ผู้ป่วยแต่ละรายได้รับการระบุปัญหา/ความต้องการที่จะเกิดขึ้นหลังจำหน่ายอย่างครบถ้วน
III-4 การดูแลผู้ป่วย (Care Delivery) Safe Environment เจ้าหน้าที่มีศักยภาพเหมาะสมกับภาระงานที่ได้รับมอบหมายและปัญหาของผู้ป่วย สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วยมีความปลอดภัยและเอื้อต่อการป้องกันอันตรายต่อผู้ป่วย Competent Staff Modify Care Plan(III-3) Care Plan การติดตามเฝ้าระวังอาการของผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ มีการปรับเปลี่ยนแผนการดูแลอย่างเหมาะสม ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างเป็นองค์รวมตามแผนการดูแลที่กำหนดไว้ Holistic Care Delivery Monitor Deal with Crisis & Emergency Policies & Procedures มีความพร้อมและสามารถตอบสนองต่อภาวะวิกฤตและภาวะฉุกเฉิน Information Sharing & Coordination มีการจัดทำและปฏิบัติตามนโยบาย/แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง Response to Deterioration การสื่อสาร การรายงานและระบบขอคำปรึกษามีประสิทธิภาพ Accepted Practice สามารถตอบสนองต่อผู้ป่วยที่มีอาการทรุดลงได้รวดเร็ว การดูแลผู้ป่วยเป็นไปตามแนวปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ
III-4.3 การดูแลผู้ป่วยเฉพาะ (Care Delivery) Anesthesia assessment, patient preparation, anesthetic care, post-anesthetic care Operation/Invasive Procedure assessment, informed consent, patient preparation, anesthetic care, post-anesthetic care
III-5การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและครอบครัว (Information & Empowerment) Provide Information & Facilitate Learning มีการให้ข้อมูลที่จำเป็นและสร้างการเรียนรู้ที่ได้ผล ผู้ป่วยมีความมั่นใจและมีความสามารถในการดูแลตนเอง แผนการให้ข้อมูลและสร้างการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับปัญหาและความพร้อมของผู้ป่วยแต่ละราย Emotional Support & Counseling Effective Self Care ผู้ป่วยได้รับความช่วยเหลือด้านอารมณ์จิตใจและการให้คำปรึกษาดีเพียงใด Assess & Plan Learning Activities Continuously Follow Up Planning for Self Management ร่วมกันการวางแผนการดูแลตนเอง ให้แก่ผู้ป่วย/ครอบครัว มีการติดตามและช่วยแก้ปัญหาอุปสรรค Provide Essential Skill Training มีการสอนทักษะที่จำเป็นแก่ผู้ป่วย/ครอบครัวอย่างได้ผล Evaluate & Improve มีการประเมินและนำผลมาใช้ปรับปรุง
ระบบการนัดหมายและติดตามมีประสิทธิภาพระบบการนัดหมายและติดตามมีประสิทธิภาพ III-6 การดูแลต่อเนื่อง (Continuity of Care) Appointment ระบบการให้ความช่วยเหลือและคำปรึกษามีประสิทธิภาพ ขั้นตอนการจำหน่ายมีประสิทธิภาพ ผู้ป่วยได้รับข้อมูลที่จำเป็นครบถ้วน Assistant & Consultation Discharge Follow Up Continuity of Care การสือสารข้อมูลผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลและทีมงานที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพ ผู้ป่วยได้รับการติดตามดูแลโดยทีมเยี่ยมบ้านหรือสถานพยาบาลใกล้บ้านอย่างเพียงพอและเหมาะสม Communicate Patient Information Collaborate & Coordinate การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความครอบคลุมและได้ผล หน่วยงานที่รับดูแลต่อเนื่องมีความพร้อม Process Design Review & Monitor มีการนำผลการทบทวนและติดตามมาใช้ในการปรับปรุงระบบงานและการบันทึกข้อมูล
การสร้างและใช้ความรู้ (EBM, KM, Research)
การพัฒนาคุณภาพและนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพและนวัตกรรม
แผนการพัฒนาคุณภาพ การวิจัย นวตกรรม
ความเสี่ยงสำคัญ การระบุความเสี่ยง (Risk Identification)
ผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงในรูปแบบ Risk Matrix
Context เช่น ระบาดวิทยาของปัญหา ลักษณะผู้ป่วย ความต้องการของผู้ป่วย องค์ประกอบสำคัญในการดูแล เทคโนโลยีที่ใช้ จำนวนผู้ป่วย การทำหัตถการ ความท้าทาย
เป้าหมาย ปัจจัยขับเคลื่อน ตัวชี้วัด (Purpose, Driver Diagram, & Indicator) Interventions/Change Idea Secondary Drivers Purpose Primary Drivers เป้าหมาย: Indicator: Indicator: Indicator: Indicator:
Process Flowchart ของการดูแลผู้ป่วยโรค..... เขียน flowchart ที่ทำให้เห็นภาพรวมของกระบวนการดูแลตั้งแต่ต้นจนจบ เน้นกระบวนการสำคัญของโรคที่นำเสนอ ควรระบุประเด็นคุณภาพสำคัญ/ความเสี่ยงในแต่ละขั้นตอนลงไปในขั้นตอนต่างๆ ของ flowchart ด้วย
การจัดการกระบวนการ (Process Management) ข้อกำหนดของกระบวนการ (process requirement) ระบุสิ่งที่คาดหวังจากกระบวนการด้วย key word สั้นๆ โดยพิจารณาจากความต้องการของผู้รับผลงาน มาตรฐานวิชาชีพ และความเสี่ยงที่อาจทำให้ไม่บรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดของกระบวนการ (process indicators) ระบุตัวชี้วัดที่สัมพันธ์กับข้อกำหนดของกระบวนการและเป็นประโยชน์ในการทำให้มั่นใจในคุณภาพของกระบวนการนั้น การออกแบบกระบวนการ (process design) พิจารณา driver diagram และ process requirement ร่วมกับแนวคิดการออกแบบ (เช่น simplicity, visual management, human factor engineering, human-centered design, Lean thinking) แล้วระบุสิ่งที่ออกแบบวิธีการปฏิบัติเพื่อบรรลุข้อกำหนดของกระบวนการ
ผลลัพธ์และการพัฒนาที่ผ่านมา (Performance & Interventions) ใช้ run chart หรือ control chart เพื่อแสดงผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดที่ระบุไว้ใน driver diagram และตาราง process management ระบุการปรับปรุงที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาต่างๆ ที่สัมพันธ์กับผลลัพธ์ ใช้ตารางแสดงผลลัพธ์ถ้าข้อมูลไม่แสดง variation ในช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล