90 likes | 279 Views
ประชุมพิจารณาทบทวนตัวชี้วัดร่วมยุทธศาสตร์เอดส์ ( Join KPI ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 -2559 วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 เวลา 09.00 -13.00 น. ณ ริเวอร์ไรน์ เพลส เซอร์วิส อพาร์ทเมนท์ จังหวัดนนทบุรี. ความเป็นมาและวัตถุประสงค์การประชุม.
E N D
ประชุมพิจารณาทบทวนตัวชี้วัดร่วมยุทธศาสตร์เอดส์ (Join KPI) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 -2559 วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 เวลา 09.00 -13.00 น.ณ ริเวอร์ไรน์ เพลส เซอร์วิส อพาร์ทเมนท์ จังหวัดนนทบุรี
ความเป็นมาและวัตถุประสงค์การประชุมความเป็นมาและวัตถุประสงค์การประชุม • การยกเลิกตัวชี้วัดยุทธศาสตร์เอดส์ที่มีเป้าหมายร่วมกัน Joint KPI (ในปีงบประมาณ 2556 ไม่มีตัวชี้วัดนี้) • มติการประชุม คช.ปอ. ครั้งที่ 1/2556 เห็นชอบ หลักการใช้ Joint KPI สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 -2559 • ดำเนินการเสนอให้ใช้สำหรับปีงบประมาณ 57 เป็นต้นไป
Adult living with HIV 451,258 Adult living with HIV 676,005 สถานการณ์การระบาดของการติดเชื้อเอชไอวี New HIV 8,134 (2,235) Adult women living with HIV 193,965 New HIV 28,241 (15,716) 2000 2013 Adult women living with HIV 217,860 Deaths 20,962 (6,282) Deaths 55,079 (12,036)
Thailand Getting to Zero แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ 2555-59 • Zero New HIV Infections • จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ • อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ • Zero AIDS-related Deaths • ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • Zero Discrimination • กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาได้รับการแก้ไข • การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และจำเพาะกับเพศสภาวะ • จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ประชากรเป้าหมายได้รับบริการป้องกันและมีพฤติกรรมปลอดภัยจากการติดเชื้อ (KPI: % เยาวชนใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด) ประชาชนทราบสถานะการติดเชื้อและผู้ติดเชื้อได้ยาแต่เนิ่นๆ (KPI: % ผู้ได้iรับการตรวจ HCT ) Optimization and Consolidation ป้องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด ป้องกันการติดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ บริการโลหิตปลอดภัย ดูแลรักษาและการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ติดเชื้อฯ ดูแลเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ การลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ การสื่อสารสาธารณะ • Innovations and Changes • เร่งรัดขยายการป้องกันให้ครอบคลุมประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและคาดว่าจะมีจำนวนการติดเชื้อฯ รายใหม่มากที่สุด • ขยายการปกป้องทางสังคมและปรับเปลี่ยนสภาวะแวดล้อมทางกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการป้องกันและการรักษา • เพิ่มความร่วมรับผิดชอบและเป็นเจ้าของร่วมในระดับประเทศ จังหวัด และท้องถิ่น • พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ เสริมพลังอำนาจ ภาวะผู้นำและเป็นเจ้าของ ภาคีเครือข่ายการทำงาน เคารพสิทธิและละเอียดอ่อนเรื่องเพศ เอดส์ไม่ใช่เพียงโรคและความเจ็บป่วย มุ่งเน้นเป้าหมาย
การยุติปัญหาเอดส์ (Ending AIDS) • ไม่มีเด็กแรกเกิดติดเชื้อเอชไอวี • การติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ลดลงร้อยละ 90 • ผู้ติดเชื้อเอชไอวีทุกคนเข้าถึงการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯเร็ว • ไม่มีการตีตราและเลือกปฎิบัติ
ภาพจำลองแนวโน้มการติดเชื้อใหม่รายปี ในสถานการณ์ปัจจุบัน เปรียบเทียบกับดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ และแผนยุทธศาสต์เอดส์ชาติที่ผนวกกลวิธียุติปัญหาเอดส์ ป้องกันและแก้ไขปัญหาแบบเดิม มุ่งเน้นประชากรหลักและพื้นที่เป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการรู้สถานะ HIV และการรักษาเนิ่นๆที่เน้นให้ครอบคลุมประชากรหลักร้อยละ 90
ยุทธศาสตร์เอดส์ชาติและแผนยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทยยุทธศาสตร์เอดส์ชาติและแผนยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย • ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 - 2559 • มาตรการยุติปัญหาเอดส์ • ประชาชนวัยเจริญพันธุ์ทุกคนรู้สถานะการติดเชื้อเอชไอวีโดยเน้นความครอบคลุมให้ได้ร้อยละ 90 แก่กลุ่มประชากรสำคัญหลักและคู่เพศสัมพันธ์ประจำคือ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พนักงานบริการ ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด รวมทั้งผู้ต้องโทษ และคู่ของผู้มีเลือดบวก • ให้บริการการรักษาด้วยยาต้านไวรัสแก่ผู้ติดเชื้อฯทุกรายที่มีความพร้อมเร็วขึ้น โดยไม่ต้องรอให้ระดับ CD4 ต่ำถึง 350 และผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาสามารถอยู่ในระบบต่อเนื่องและกินยาสม่ำเสมอ
พิจารณาทบทวนตัวชี้วัดร่วมยุทธศาสตร์เอดส์และกำหนดค่าเป้าหมาย ปีงบประมาณ 2557
พิจารณาบทบาทหน่วยงานฯ ในการบรรลุเกณฑ์ KPI • วิสัยทัศน์: สู่เป้าหมายการไม่มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่, ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ และไม่มีการตีตรากีดกัน • บทบาทของหน่วยงาน • ยุทธศาสตร์ ๑ เร่งรัดขยายการดำเนินการป้องกันที่รอบด้านให้ครอบคลุม • ยุทธศาสตร์ ๒ เร่งรัดขยายการดำเนินงานให้การปกป้องทางสังคมและปรับเปลี่ยนสภาวะแวดล้อมทางกฎหมาย • ยุทธศาสตร์ ๓ เพิ่มความรับผิดชอบและเป็นเจ้าของ ร่วมกันในระดับต่างๆ • ยุทธศาสตร์ ๔ พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกัน • ยุทธศาสตร์ ๕ ยกระดับคุณภาพมาตรการและแผนงานที่มีอยู่เดิมให้เข้มข้นและบูรณาการ