140 likes | 308 Views
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ที่ 1. พัฒนาสถาบันกรมการแพทย์เป็นสถาบันเฉพาะทางชั้นสูง / สถาบันระดับชาติ. กลวิธี / มาตรการ. 1.1 เร่งรัดการดำเนินงานตามแผนพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศโดยให้ หน่วยงานดำเนินการพัฒนาใน 7 องค์ประกอบควบคู่กันไปภายใต้ ศักยภาพที่มีอยู่ ได้แก่
E N D
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสถาบันกรมการแพทย์เป็นสถาบันเฉพาะทางชั้นสูง / สถาบันระดับชาติ
กลวิธี / มาตรการ 1.1 เร่งรัดการดำเนินงานตามแผนพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศโดยให้ หน่วยงานดำเนินการพัฒนาใน 7 องค์ประกอบควบคู่กันไปภายใต้ ศักยภาพที่มีอยู่ ได้แก่ -Super tertiary Care - Referral Center - Research and Development Center - Training Center - Reference Center - National Body and Policy Advocacy - Network
1.2 สนับสนุนทรัพยากรตามลำดับความสำคัญของของแผนพัฒนา ศูนย์ความเป็นเลิศ 1.3 เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรให้มีขีดความสามารถและทักษะ ในการ ดำเนินงาน 1.4 พัฒนาระบบการติดตามกำกับการดำเนินงาน 1.5 พัฒนาข้อเสนอทางนโยบายด้านสุขภาพเชิงรุก 1.6 พัฒนาฐานข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงาน
บริบทของ COEกรมการแพทย์ • ด้านอาชีวเวชศาสตร์ 14. ด้านมะเร็ง 9 หน่วยงาน • ด้านจักษุวิทยา 2 หน่วยงาน 15. ด้านยาเสพติด 6 หน่วยงาน • ด้านโสต ศอ นาสิก 16. ด้านโรควัณโรค • ด้านผ่าตัดทางกล้อง 17. ด้านโรคผิวหนัง 2 หน่วยงาน • ด้านปลูกถ่ายอวัยวะ 18. ด้านเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ • ด้านอุบัติเหตุ 3 หน่วยงาน 19. ด้านโรคไข้เลือดออก • ด้านอณูพยาธิวิทยา 20. ด้านทารกแรกเกิด • ด้านโรคกระดูกและข้อ 21. ด้านศัลยกรรมทารกแรกเกิด • ด้านสุขภาพพระสงฆ์ • ด้านเวชกรรมฟื้นฟู • ด้านรากฟันเทียม • ด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด 3 หน่วยงาน • ด้านโรคหลอดเลือดสมอง 2 หน่วยงาน ด้านวิชาการ 1 ด้าน 1. ศูนย์วิจัยทางคลินิกพหูสถาบัน ด้านการแพทย์เฉพาะทาง 21 ด้าน
การกำกับติดตามเพื่อพัฒนา COE 1. โดยแบบประเมินตนเอง ที่กรมการแพทย์พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 3 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน : บริบท ความท้าทาย บุคลกร งบประมาณ ตอนที่ 2 การจัดการเชิงระบบ : แผนยุทธศาสตร์ Benchmarking & Best Practice Innovation การพัฒนาระบบงาน ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน :โรคTop 5 Research ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ หลักสูตรอบรม ฐานข้อมูล วิทยากรระดับชาติ/นานาชาติ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เครือข่ายวิชาการภายใน/ภายนอกประเทศ ผลงานเด่น และรางวัลภูมิใจ 2. การเยี่ยมติดตามโดยทีมนิเทศจากส่วนกลาง ไปยังหน่วยงาน 3. การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ( Blueprint for Change)
ผลลัพธ์การพัฒนา COE เฉพาะที่ผ่านเกณฑ์ประเมินตนเอง มากกว่าร้อยละ 70 ปี 2550 ไม่ได้ตั้งเป้าหมาย ผ่าน 15 ด้าน ( 25 แห่ง) ปี 2551 ตั้งเป้าหมายไว้ 2 ด้าน ผ่าน 19 ด้าน ( 33 แห่ง ) ปี 2552 ตั้งเป้าหมายไว้ 6 ด้าน ผ่าน 18 ด้าน (34 แห่ง) * ใช้แบบประเมินตนเองรูปแบบใหม่
ระดับการพัฒนา COEแยกตาม 7 องค์ประกอบ 1. องค์ประกอบที่พัฒนาไปได้ดีมาก : Super-tertiary Care , Training Center 2. องค์ประกอบที่พัฒนาไปได้ปานกลาง: Research & Development Center , Referral Center , Network , Reference Center 3. องค์ประกอบที่พัฒนาไปได้น้อย: National Body & Policy Advocacy
โอกาสในการพัฒนา COE 1. พัฒนาระบบฐานข้อมูล 2. สร้างและพัฒนาระบบเครือข่ายการรับส่งต่อผู้ป่วย 3. พัฒนางานวิจัย ระดับชาติ / นานาชาติ 4. พัฒนางานด้านการประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 5. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการภายใน / ภายนอกประเทศ 6. Benchmarking
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ / ไม่สำเร็จ