1 / 65

รองศาสตราจารย์ ดร.สุ วิทย์ เลา หศิริ วงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม

คณะผู้บริหาร. รองศาสตราจารย์ ดร.สุ วิทย์ เลา หศิริ วงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม. คณะผู้บริหาร. รองศาสตราจารย์ เทอด ศักดิ์ คำ เหม็ง รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม. นายประยูร เทพพิทักษ์ศักดิ์ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม. คณะผู้บริหาร. นายวีระศักดิ์ จุลดาลัย

Download Presentation

รองศาสตราจารย์ ดร.สุ วิทย์ เลา หศิริ วงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คณะผู้บริหาร รองศาสตราจารย์ ดร.สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม

  2. คณะผู้บริหาร รองศาสตราจารย์ เทอดศักดิ์ คำเหม็ง รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม นายประยูร เทพพิทักษ์ศักดิ์ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม

  3. คณะผู้บริหาร นายวีระศักดิ์ จุลดาลัย ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายงานวิจัย นางนุชรัตน์ มังคละคีรี ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายงานประกันคุณภาพการศึกษา นายทศพล บำรุงโชค ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายบริหารและงานอาชีวศึกษา

  4. คณะผู้บริหาร รศ.ดร.ประสาท อิศรปรีดา คณบดี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ นายวันชัย ศรีแก้ว ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายชุมชนสัมพันธ์และกิจการพิเศษ นายสำเนียง ไข่มุกข์ ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายงานบุคคล

  5. คณะผู้บริหาร ดร.สมเกียรติ กสิกรานันท์ คณบดีวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม รศ.ดร.จำนง วงศ์ชาชม คณบดีคณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ นางเยาวลักษณ์ โพธิดารา คณบดีวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครพนม

  6. คณะผู้บริหาร นายประเสริฐ จินดา คณบดีวิทยาลัยการอาชีพนาหว้า นายสมัย สามิต คณบดีวิทยาลัยเทคนิคนครพนม นายตรีภพ ชินบูรณ์ คณบดีวิทยาลัยการอาชีพธาตุพนม

  7. คณะผู้บริหาร รศ.ดร.ลลิตา ฤกษ์สำราญ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา รศ.ดร.วันชัย ริ้วไพบูลย์ คณบดีวิทยาลัยการบินนานาชาติ ดร.ธงชัย สวัสดิสาร คณบดีวิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ

  8. คณะผู้บริหาร นายเรืองชัย วงษ์อุระ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ นายธวัช เอี่ยมสม ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี Ms.BhuvanaPashupathi ผู้อำนวยการสถาบันภาษา

  9. ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยนครพนม เป็นมหาวิทยาลัยที่เกิดจากการหลอมรวมสถานศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามพระราช บัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๒๒ ตอนที่ ๗๕ ก เมื่อวันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงมีผลให้มหาวิทยาลัยนครพนมได้รับการยกฐานะเป็น “มหาวิทยาลัยนครพนม” ตั้งแต่วันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘

  10. พัฒนาความรู้ คู่คุณธรรม “สัมพันธ์อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง” ปรัชญา

  11. มหาวิทยาลัยนครพนม เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ที่มุ่งจัดการศึกษาด้านทักษะ วิชาชีพและผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางวิชาการ โดยเน้นการกระจายโอกาสทางการศึกษาแก่ชุมชนตั้งแต่ระดับท้องถิ่น ไปถึงระดับอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ทำการผลิตบัณฑิต การบริการวิชาการและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีการบริหารจัดการที่ดี วิสัยทัศน์

  12. 1 2 3 4 ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการบริการวิชาการ ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้านงานวิจัย พันธกิจ

  13. สำนักงานอธิการบดี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครพนม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม วิทยาลัยการอาชีพธาตุพนม สถาบันวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยเทคนิคนครพนม สำนักวิทยบริการ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ วิทยาลัยการอาชีพนาหว้า สภาพทางกายภาพ

  14. ปีการศึกษา ๒๕๕๐ มหาวิทยาลัยมีนักศึกษาที่กำลังศึกษา อยู่ในระดับอุดมศึกษาทั้งสิ้น จำนวน ๑,๗๙๘ คน แบ่งออกเป็นปริญญาตรีภาคปกติ ๙๔๕ คน ปริญญาตรี ภาคพิเศษ ๗๙๑ คน ระดับปริญญาโท ๖๒ คน มีจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) ปีการศึกษา ๒๕๕๐ เท่ากับ ๒,๐๖๘.๒๖ มีจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) ปีงบประมาณ ๒๕๕๐ เท่ากับ ๑,๖๒๓.๕๐

  15. อาจารย์ ๗๗ คน บุคลากรสายสนับสนุน ๑๓๕ คน บุคลากร ระดับอุดมศึกษา ลาศึกษาต่อ จำนวน ๙ คน ไปช่วยราชการ จำนวน ๒ คน ปฏิบัติงานจริง จำนวน ๖๖ คน

  16. อาจารย์ ๑๙๓ คน บุคลากรสายสนับสนุน ๑๒๙ คน บุคลากร ระดับอาชีวศึกษา ลาศึกษาต่อ จำนวน ๗ คน ไปช่วยราชการ จำนวน ๑๔ คน ปฏิบัติงานจริง จำนวน ๑๘๒ คน

  17. งบประมาณ ทั้งสิ้น ๓๗๗,๙๔๔,๓๐๐ บาท เงินรายได้ ๒๘,๙๐๖,๑๐๐ บาท

  18. งบประมาณแผ่นดิน

  19. แผนภูมิแสดงรายรับ รายจ่าย และเงินเหลือจ่าย

  20. สรุปผลการดำเนินงาน ระดับอุดมศึกษา มาตรฐานที่ ๑ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต • บัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระ • ภายใน ๑ ปี เท่ากับร้อยละ ๙๔.๕๕ โดยมีนักศึกษาที่สำเร็จ • การศึกษา ๑๐๔ คน ทำงานหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำแนก • เป็นวิทยาลัยพยาบาลฯ ร้อยละ ๑๐๐ และ คณะศิลปศาสตร์ • และวิทยาศาสตร์ ร้อยละ ๙๑.๖๗

  21. มาตรฐานที่ ๑ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต • ในรอบ ๓ ปีที่ผ่านมานักศึกษาและศิษย์เก่า จำนวน ๕ คน • ได้รับประกาศเกียรติคุณยกย่อง จากสภาสังคมสงเคราะห์ • แห่งประเทศไทย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ • สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย • ฝ่ายพลเรือนกลาง กระทรวงมหาดไทย กรมโยธาธิการและ • ผังเมือง และกระทรวงสาธารณสุข

  22. มาตรฐานที่ ๒ มาตรฐานงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • จำนวนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ตีพิมพ์ใน • วารสาร ๒ เรื่อง เผยแพร่ในการประชุมวิชาการ ๘ เรื่อง • มีเงินสนับสนุนงานวิจัยของสถาบัน ๑,๓๒๗,๙๑๐ บาท • คิดเป็น ๒๐,๒๓๓.๕๕ บาท/คน เงินสนับสนุนงานวิจัยจาก • ภายนอก ๑,๗๖๙,๘๐๐ บาท คิดเป็น ๒๖,๘๑๖.๖๗ บาท/คน

  23. มาตรฐานที่ ๒ มาตรฐานงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • มีอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัยจากภายในสถาบัน • และภายนอกสถาบัน จำนวน ๓๒ คน และ ๑๗ คน ตาม • ลำดับ คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๕๒ และ ๒๔.๒๔ ตามลำดับ • จากจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด ๖๖ คน

  24. การลงนามความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในประเทศไทยการลงนามความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในประเทศไทย สถาบันวิจัยและพัฒนา ม.นครพนม ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับ วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน๒๕๕๑

  25. มาตรฐานที่ ๓ มาตรฐานการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยได้จัดกิจกรรมและโครงการบริการ วิชาการที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและ เสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ จำนวน ๒๗ กิจกรรม/โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๙๑ ต่ออาจารย์ประจำ มีอาจารย์ประจำ ๑๔ คนเป็นกรรมการวิชาชีพ ในระดับชาติ คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๑๘

  26. มาตรฐานที่ ๓ มาตรฐานการบริการวิชาการ • ได้นำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการ • เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพเด็กเล็กของชุมชน • เผ่าภูไท อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม และโครงการ • ค่ายเรียนรู้คู่คุณธรรมนำชีวิตพอเพียง มาใช้ในการเรียน • การสอน รายวิชาสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการเจ็บป่วย • และรายวิชาวิถีโลก ตามลำดับ

  27. มาตรฐานที่ ๓ มาตรฐานการบริการวิชาการ • มีค่าใช้จ่ายในการบริการวิชาการ • จำนวน ๑,๑๙๙,๑๓๙.๕๐ บาท มูลค่าจำนวน ๑๖๒,๔๑๔ บาท • รวม ๑,๓๖๑,๕๕๓.๕๐ บาท คิดเป็น ๒๐,๖๒๙.๖๐ บาทต่อ • อาจารย์ประจำ ๑ คน

  28. มาตรฐานที่ ๓ มาตรฐานการบริการวิชาการ • มหาวิทยาลัยมีแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ได้รับ • การยอมรับในระดับชาติ ๕ แหล่งประกอบด้วย • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ รับรองโดยศูนย์เทคโนโลยี • อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ • หน่วยตรวจสอบผลิตภัณฑ์ชุมชน กระทรวงอุตสาหกรรม • ศูนย์บริการวิชาการ รับรองโดยสมาคมนักบริหาร • สาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข

  29. มาตรฐานที่ ๓ มาตรฐานการบริการวิชาการ • ชมรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รับรองเป็นสมาชิกเครือข่าย • สมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย • สถาบันสมทบ รับรองจากศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง • สาขาพยาบาลศาสตร์ สภาการพยาบาล

  30. มาตรฐานที่ ๓ มาตรฐานการบริการวิชาการ • ในปีการศึกษา ๒๕๕๐ มีรายรับในการให้บริการวิชาการ • และวิชาชีพ ๑๓๖,๓๔๘ บาท คิดเป็น ๒,๐๖๕.๘๘ บาท • ต่ออาจารย์ประจำ ๑ คน • มีการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม โครงการ • ร่วมใจ สามัคคีเพื่อสุขภาพดีของเด็ก กับงานวิจัยเรื่อง • ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพเด็กเล็กของชนเผ่า • ภูไท อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม

  31. มาตรฐานที่ ๔ มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • มีโครงการ/กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริม • เอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งสิ้น ๔๖ โครงการ • กิจกรรม คิดเป็นร้อยละ ๔.๔๔ ต่อนักศึกษาเต็ม • เวลาเทียบเท่า

  32. มาตรฐานที่ ๔ มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการอนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริม • เอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม เท่ากับ ๑,๔๐๖,๙๙๐ บาท • มูลค่า ๗๕๖,๖๖๐ บาท รวม ๒,๑๗๓,๖๕๐ บาท คิดเป็น • ร้อยละ ๓.๔๖ ต่องบดำเนินการ

  33. มาตรฐานที่ ๕ มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร • คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย เปิดโอกาสให้มีการ • ตรวจสอบการดำเนินงาน มีส่วนร่วมในการกำหนดและให้ • ความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์ ติดตามผลการดำเนินงาน • ที่สำคัญ มีการประชุม ๑๑ ครั้ง โดยส่งเอกสารก่อนการ • ประชุมเฉลี่ยอย่างต่ำ ๗ วัน และเผยแพร่รายงาน • การประชุมทาง Web Site

  34. มาตรฐานที่ ๕ มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร • มหาวิทยาลัยได้ให้ความรู้ความเข้าใจและหาแนวทางในการ • จัดการความรู้ สำหรับผู้บริหารระดับสูง • แผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยมีความสอดคล้องกับ • ยุทธศาสตร์ชาติ ร้อยละ ๑๐๐ • เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความประหยัดแก่ข้าราชการ • มหาวิทยาลัยได้มีการใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบัน • ร่วมกัน ประกอบด้วย การใช้ทรัพยากรบุคคล ในการเป็น • อาจารย์พิเศษ การใช้สถานบริการสุขภาพ เป็นแหล่งฝึกงาน • ของนักศึกษา

  35. มาตรฐานที่ ๕ มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร • มหาวิทยาลัยมีฐานข้อมูล จำนวน ๓ ฐาน ที่เป็นปัจจุบัน • เพื่อให้ผู้บริหาร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลไปใช้ • ในการบริหารและการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ • มหาวิทยาลัยมีสินทรัพย์ถาวรทั้งสิ้น ๓๒๖,๘๒๗,๕๐๗.๙๖ บาท • คิดเป็น ๒๐๑,๓๐๙.๒๑ บาท ต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า

  36. มาตรฐานที่ ๕ มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร • ในปีงบประมาณ ๒๕๕๐ จำแนกเป็นวิทยาลัยพยาบาลฯ • มีค่าใช้จ่ายทั้งหมด ๒๗,๓๑๔,๘๒๘.๔๙ บาท หรือ ๖๔,๕๓๑.๓๕ บาท • ต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ -๓๗.๒๘ จากเกณฑ์ปกติ • (สาขาพยาบาลศาสตร์ เท่ากับ ๑๐๒,๘๘๐ บาทต่อคน) • คณะศิลปศาสตร์ฯ มีค่าใช้จ่ายทั้งหมด ๒๓,๖๕๑,๒๔๖.๒๙ บาท • หรือ ๑๙,๗๐๕.๕๙ บาท ต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ • ๙๒.๕๖ จากเกณฑ์ปกติ(คณะศิลปศาสตร์ฯ เท่ากับ ๖๕,๔๙๔ บาทต่อคน) • เงินเหลือจ่าย ๑๗,๙๗๘,๕๒๔.๔๐ บาท คิดเป็นร้อยละ • ๒๒.๘๒ ต่องบดำเนินการ

  37. มาตรฐานที่ ๕ มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร • มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญในการพัฒนาอาจารย์ ดังนั้น • อาจารย์ทุกคน จึงได้เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอ • ผลงานวิชาการ ทั้งในและต่างประเทศ โดยมีงบประมาณ • สำหรับการพัฒนาคณาจารย์ ๒,๑๑๖,๓๘๗.๓๔ เท่ากับ • ๒๗,๔๘๕.๕๕ บาทต่อคน • บุคลากรประจำสายสนับสนุน ได้รับการพัฒนาความรู้ • และทักษะในวิชาชีพในประเทศ คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๕๙

  38. มาตรฐานที่ ๖ มาตรฐานด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน • มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรที่ได้มาตรฐาน จำนวน ๘ หลักสูตร • มีนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ เท่ากับ • ๔๓.๑๖ ของเกณฑ์ปกติ นักศึกษาพึงพอใจต่อประสิทธิภาพ • การเรียนการสอนของอาจารย์และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ • เท่ากับ ๓.๙๙ ได้เข้าร่วมกิจกรรมและโครงการพัฒนาทุกคน

  39. มาตรฐานที่ ๖ มาตรฐานด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน • ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และ • ศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา เท่ากับ ๕,๒๒๔.๗๔ บาท • โดยมีค่าใช้จ่ายที่ใช้ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และ • ศูนย์สารสนเทศ รวมทั้งสิ้น ๘,๔๘๒,๔๒๕.๖๙ บาท

  40. การลงนามความร่วมมือกับประเทศนิวซีแลนด์การลงนามความร่วมมือกับประเทศนิวซีแลนด์ อธิการบดี ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับ Mr. Chistopher Hawley, Director ofOffice for International Development, Auckland University of Technology, New Zealand อธิการบดี ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับ Prof. I. J. Warringtonรักษาการอธิการบดีของ Massey University New Zealand

  41. การลงนามความร่วมมือกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามการลงนามความร่วมมือกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม อธิการบดี ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับ Dr. LE THI XUAN LIEN อธิการบดีวิทยาลัยครูกวางตรี อธิการบดี ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับ อธิการบดี Vinh University อธิการบดี ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับ อธิการบดี Hue University

  42. มาตรฐานที่ ๗ มาตรฐานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา • มหาวิทยาลัยมีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในเป็น • ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาสอดคล้องกับ • แนวทางการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยได้รับการ • สนับสนุนจากต้นสังกัด และการมีส่วนร่วมในการประกัน • คุณภาพจากทุกภาคีทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย • โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมของชุมชน มีการนำผลการประเมิน • ไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง

  43. การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย • การส่งเสริมสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน • สถาบันอุดมศึกษา ระดับนักศึกษา • อบรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเบื้องต้น • ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา • เตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน • สถานศึกษา

  44. สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อทำความเข้าใจและหาแนวทางในการนำกระบวนการจัดความรู้ ในมหาวิทยาลัยนครพนม สำหรับผู้บริหารระดับสูง (KM) • การฝึกอบรมพัฒนาให้ความรู้การประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม • ศึกษาดูงานการประกันคุณภาพการศึกษา ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง และมหาวิทยาลัยนเรศวร

  45. สัมมนาเชิงวิชาการ QA Contest • การมีส่วนร่วมของชุมชน ในการพัฒนามหาวิทยาลัยนครพนม (อธิการบดีพบประชาชน) • อบรมเชิงปฏิบัติการ การเขียนรายงานประเมินตนเอง (SAR)

  46. ผลการประเมินคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาผลการประเมินคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา

  47. สรุปผลการดำเนินงาน ระดับอาชีวศึกษา มาตรฐานที่ ๑ การประกันคุณภาพภายใน • มีการประเมินผลและนำผลการประเมินคุณภาพภายในและ • ภายนอกมาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง • มีการเผยแพร่ผลการประเมินทางเว็บไซต์ • และจัดทำแผนพัฒนาระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๔๘-๒๕๕๐) นำผล • การประเมินรอบแรกมาแก้ไขปรับปรุง รายงานการประเมินตนเอง • จัดสัมมนาโครงการ Good Practice และส่งผลงานเข้าประกวด

  48. มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา • ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ • เท่ากับ ๙๒.๓๓ • ร้อยละของการได้งานภายใน ๑ ปี รวมทั้งการประกอบ • อาชีพอิสระของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวช. เท่ากับ ๑๑.๗๑ • ระดับ ปวส. เท่ากับ ๔๓.๓๖

  49. มาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา • ร้อยละของการพัฒนาหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะ แยก • เป็นหลักสูตร ปวช. จำนวน ๙ หลักสูตร ปวส. จำนวน ๒๑ • หลักสูตร รวมทั้งสิ้น ๓๐ หลักสูตร คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ • ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์ • โดยมีการจัดทำการประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ • คุณภาพการสอนของอาจารย์ผู้สอนทุกรายวิชา เท่ากับ ๓.๙๓

More Related