240 likes | 361 Views
การเข้าเป็นภาคีในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก และความร่วมมือในการรับรองบุตรบุญธรรมระหว่างประเทศ. โดย นางชลาทิพย์ ปุณณะบุตร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม. ( The Hague Convention on the Protection of Children and Cooperation in Respect of Intercountry Adoption).
E N D
การเข้าเป็นภาคีในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก และความร่วมมือในการรับรองบุตรบุญธรรมระหว่างประเทศ โดย นางชลาทิพย์ ปุณณะบุตร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม (The Hague Convention on the Protection of Children and Cooperation in Respect of Intercountry Adoption)
“ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2545 ให้ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก และความร่วมมือในการรับรองบุตรบุญธรรมระหว่างประเทศ ”
โดยเห็นว่า... อนุสัญญาส่งเสริมให้เกิดระบบความร่วมมือระหว่างรัฐภาคี ประกาศไม่ผูกพันตามอนุสัญญาฯ ข้อ 25 มอบศูนย์อำนวยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม เป็นสำนักงานกลางตามที่อนุสัญญาฯ กำหนด ประเทศไทยไม่มีความจำเป็นต้องแก้ไขกฎหมายภายใน และสามารถที่จะปฏิเสธการรับบุตรบุญธรรมนั้นได้ หากการรับบุตรบุญธรรมนั้นขัดต่อนโยบายสาธารณะ อย่างชัดเจน
นายสุรเกียรติ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ลงนามในอนุสัญญา เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2547 จะมีผลบังคับตั้งแต่... วันที่ 1 สิงหาคม 2547
วัตถุประสงค์ของอนุสัญญาวัตถุประสงค์ของอนุสัญญา เพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็ก โดยก่อตั้งระบบความร่วมมือระหว่างรัฐคู่สัญญา เพื่อป้องกันการลักพา การขายหรือการค้าเด็ก เพื่อให้เด็กสามารถอยู่ภายใต้การดูแลจากครอบครัวกำเนิดของตน หากไม่อาจหาครอบครัวที่เหมาะสมในรัฐกำเนิดให้แก่เด็ก การรับบุตรบุญธรรมระหว่างประเทศจึงจะจัดให้มีขึ้น เพื่อประกันการรับรองการรับบุตรบุญธรรม ซึ่งทำตามอนุสัญญานี้
เงื่อนไขในการรับบุตรบุญธรรมระหว่างประเทศเงื่อนไขในการรับบุตรบุญธรรมระหว่างประเทศ ดำเนินการโดยหน่วยงานที่มีอำนาจในรัฐกำเนิด และหน่วยงานที่มีอำนาจในรับผู้รับเท่านั้น รัฐกำเนิดได้พิจารณาแล้ววาเด็กสามารถรับเป็นบุตรบุญธรรมได้ และรัฐผู้รับพิจารณาเห็นว่าผู้ขอรับบุตรบุญธรรมมีคุณสมบัติตามกฎหมาย และมีความเหมาะสมที่จะรับบุตรบุญธรรมได้
Article 2 (1) เด็กและผู้รับมีถิ่นที่อยู่ปกติคนละรัฐ มีการเคลื่อนย้ายเด็กจากรัฐกำเนิดไปยังรัฐผู้รับ 2.1 หลังการรับบุตรบุญธรรมในรัฐกำเนิด หรือ 2.2 เพื่อความมุ่งหมายของการรับบุตรบุญธรรม ในรัฐผู้รับ หรือในรัฐกำเนิด
Article 3 อนุสัญญายุติการใช้หากรัฐกำเนิดและรัฐ ผู้รับไม่ได้ให้ความตกลงตามข้อ 17 (C) ก่อนเด็ก อายุ 18 ปี
คณะกรรมาธิการพิเศษ (TheSpecial Commission) เน้นย้ำการรับบุตรบุญธรรมภายใต้ ขอบเขตอนุสัญญา รวมถึงการรับบุตร บุญธรรมในครอบครัว การรับบุตร บุญธรรมโดยบุคคลที่มีสัญชาติ ของรัฐกำเนิด
หน้าที่ของสำนักงานกลางหน้าที่ของสำนักงานกลาง ดำเนินมาตรการในการจัดข้อมูลทางกฎหมาย และข้อมูลต่าง ๆ ของรัฐตนเกี่ยวกับการรับบุตรบุญธรรม การบริการให้คำปรึกษา แนะนำการรับบุตรบุญธรรม การบริการหลังการรับบุตรบุญธรรม ดำเนินมาตรการป้องกันการได้ประโยชน์ทางการเงินหรืออย่างอื่น อันมิชอบ และยับยั้งการปฏิบัติทั้งปวง ซึ่งแย้งกับวัตถุประสงค์ แห่งอนุสัญญา อนุญาตการดำเนินการรับบุตรบุญธรรมให้แก่ หน่วยงานซึ่งสามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้องเหมาะสม พันธกรณี
หน้าที่หน่วยงานซึ่งได้รับอนุญาตหน้าที่หน่วยงานซึ่งได้รับอนุญาต ดำเนินการโดยไม่แสวงกำไร อำนวยการโดยบุคคลซึ่งมีคุณวุฒิตามมาตรฐานจริยธรรม และมีประสบการณ์ที่จะทำงานด้านการรับบุตรบุญธรรมต่างประเทศ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของหน่วยงานที่มีอำนาจของรัฐนั้นเกี่ยวกับองค์ประกอบการปฏิบัติงานและภาวะทาง การเงิน
กระบวนการดำเนินการ หากสำนักงานกลางทั้งสองรัฐเห็นชอบว่า ให้มีการรับบุตรบุญธรรมได้ การพาเด็กไปยังรัฐผู้รับจึงจะดำเนินการได้ กรณีการรับบุตรบุญธรรมไม่ประสบผลสำเร็จให้สำนักงานกลางรัฐผู้รับ หารือกับสำนักงานกลางของรัฐกำเนิดในการจัดให้เด็กได้รับการดูแลใหม่ชั่วคราวโดยไม่ชักช้า การจัดให้เด็กกลับจะเป็นมาตรการสุดท้าย
Article 23 การรับบุตรบุญธรรมซึ่งรับรองถูกต้องโดย หน่วยงานซึ่งมีอำนาจของรัฐทีมีการรับบุตรบุญธรรม ว่าได้ทำตามอนุสัญญานี้ จะได้รับการรับรองโดย ผลของกฎหมายในรัฐคู่สัญญาอื่น หนังสือรับรองจะระบุว่า ความตกลงตามข้อ 17 อนุ ค. ได้ให้เมื่อใด และโดยผู้ใด
อนุสัญญามีวัตถุประสงค์ให้เด็กได้รับสิทธิสมบูรณ์ทางกฎหมายในรัฐผู้รับอนุสัญญามีวัตถุประสงค์ให้เด็กได้รับสิทธิสมบูรณ์ทางกฎหมายในรัฐผู้รับ กฎหมายการรับบุตรบุญธรรมของรัฐกำเนิด เด็กกับบิดามารดาผู้ให้กำเนิดตัดขาดความสัมพันธ์ทางกฎหมาย เด็กกับบิดามารดาผู้ให้กำเนิด ไม่ตัดขาดความสัมพันธ์ ทางกฎหมาย เด็กจะได้รับสิทธิต่าง ๆ ในรัฐผู้รับโดยสมบูรณ์ เด็กจะได้รับสิทธิต่างๆ ในรัฐผู้รับโดยสมบูรณ์ 1. ถ้ากฎหมายของรัฐผู้รับยอมรับ 2. ถ้าผู้ให้ความยินยอมได้ให้ความยินยอมไว้ โดยรู้ว่าเด็กกับบิดามารดาผู้ให้กำเนิด จะตัดขาดความสัมพันธ์ทางกฎหมายต่อกัน
ความต้องการรู้ชาติกำเนิดของตนความต้องการรู้ชาติกำเนิดของตน การติดตามประวัติครอบครัวเดิม ให้รัฐคู่สัญญาเก็บรักษาข้อมูลเกี่ยวกับชาติกำเนิดของเด็ก ตลอดจนประวัติทางการแพทย์ของเด็ก แต่การเปิดเผย ให้เด็กหรือผู้แทนของเด็กได้ทราบถึงข้อมูลให้อยู่ภายใต้กฎหมายของรัฐนั้นอนุญาต
แนวทางปฏิบัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมตามอนุสัญญาแนวทางปฏิบัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมตามอนุสัญญา 1. ส่งเสริมให้มีการรับบุตรบุญธรรมในประเทศ 2. ปฏิบัติไม่ให้มีการติดต่อระหว่างผู้ขอรับเด็กกับบิดา มารดาของเด็ก หรือบุคคลอื่นที่ดูแลเด็กอยู่จนกว่า กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการพิจารณาแล้ว เว้นแต่การรับบุตรบุญธรรมเกิดขึ้นภายใน 3. เก็บรักษาประวัติครอบครัวเดิมของเด็ก
4. เปิดเผยประวัติครอบครัวเดิม เมื่อ 3 ฝ่ายเห็นชอบ 1. เด็กที่เป็นบุตรบุญธรรม 2. บิดามารดาที่แท้จริง 3. บิดามารดาบุญธรรม 5. ต้องไม่มีผู้ใดได้รับประโยชน์ทางการเงิน หรือ ประโยชน์อื่นที่เกี่ยวเนื่องกับการรับบุตรบุญธรรม ระหว่างประเทศ
กลไกการดำเนินงาน ซักซ้อมให้ความรู้เกี่ยวกับอนุสัญญา แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อปฏิบัติงาน ให้สอดคล้องกับอนุสัญญา จัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่อนุสัญญา ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้สาธารณะ ได้ทราบ
กฎหมาย / ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พรบ. การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. ๒๕๒๒ พรบ. การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๓ พรบ. การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ พรบ. จดทะเบียนครอบครัวพุทธศักราช ๒๔๗๘ กฎกระทรวงฉบับที ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๓ ออกตามความใน พรบ. การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. ๒๕๒๒
อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองเด็กและความร่วมมือ ในการรับรองบุตรบุญธรรมระหว่างประเทศ (Hague Convention on the Protection of Children and Cooperation in Respect of Intercountry Adoption) ระเบียบคณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมว่าด้วยการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. ๒๕๕๐ (ม. ๑๔ พรบ. การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. ๒๕๒๒)
ขั้นตอนการดำเนินการขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมขั้นตอนการดำเนินการขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม ยื่นคำขอ เยี่ยมบ้านเพื่อสอบสภาพครอบครัว เสนออธิบดี / ผู้ว่าราชการจังหวัด อนุมัติคุณสมบัติ อนุมัติยกเว้นการทดลองเลี้ยงดูเด็ก อนุมัติทดลองเลี้ยงดูเด็ก (ทำการทดลองเลี้ยงดูไม่น้อยกว่าหกเดือน)
เสนอที่ประชุม คณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม คณะอนุกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมส่วนกลาง คณะอนุกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมประจำจังหวัด (ทำการทดลองเลี้ยงดูไม่น้อยกว่าหกเดือน) จดทะเบียนบุตรบุญธรรม สำนักทะเบียนเขต สำนักทะเบียนอำเภอ สถานทูตหรือสถานกงสุลไทย
กรณียกเว้นไม่ต้องทำการทดลองเลี้ยงดูกรณียกเว้นไม่ต้องทำการทดลองเลี้ยงดู กรณีตาม พรบ. การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๙ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พรบ. การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๓ กรณีตามกฎกระทรวงฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตาม ความในพรบ. การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. ๒๕๒๒ หมวด ๔ ข้อ ๒๗ (๑) - (๕)