480 likes | 495 Views
โดย นายประโชติ กราบกราน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรม อนามัย. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ( Auditor ) ปีงบประมาณ 2562
E N D
โดย นายประโชติ กราบกราน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Auditor) ปีงบประมาณ 2562 วันที่ 29 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ต (ศูนย์การค้าเซียร์รังสิต) จังหวัดปทุมธานี การจัดการส้วมสาธารณะ
ส้วมหมายถึง - ที่ถ่ายอุจจาระและปัสสาวะหรือ - ที่ที่ใช้เพื่อเก็บรวบรวมและกำจัดสิ่งปฏิกูลที่ร่างกายขับออกมา ส้วมสาธารณะหมายถึง ห้องส้วมในที่สาธารณะหรือ สถานประกอบการที่จัดเตรียมไว้ ให้ประชาชนทั่วไปใช้บริการ
สะอาด (Health; H) ความสะอาดของห้องส้วม สุขภัณฑ์ทั้งหมด มีการระบายอากาศดี ไม่มีกลิ่นเหม็น จัดให้มีการทำความสะอาด และมีระบบการควบคุมตรวจตรา เป็นประจำ การพัฒนาส้วมสาธารณะไทย ให้บรรลุ 3 เรื่อง 9 ข้อ
เพียงพอ( Accessibility; A) 2 ข้อ ต้องมีส้วมให้เพียงพอ สำหรับผู้พิการ ผู้สูงวัย หญิงตั้งครรภ์และประชาชนทั่วไป ต้องพร้อมใช้งานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ ปลอดภัย ( Safety; S) 5 ข้อ ผู้ใช้บริการจะต้องปลอดภัยขณะใช้ส้วม
พฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกต้องพฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกต้อง กรมอนามัย 6
เป้าหมาย : การจัดการส้วมสาธารณะ สถานที่เป้าหมายในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คำชี้แจงการใช้เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะระดับประเทศคำชี้แจงการใช้เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะระดับประเทศ HEALTHY พื้น ผนัง เพดาน โถส้วม ที่กดโถส้วม โถปัสสาวะ ที่ปัสสาวะ สะอาด ไม่มีคราบสกปรก อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ H 1 : คำชี้แจง: ความสะอาด หมายถึง ไม่มีฝุ่น หยากไย่ ไม่มีคราบสกปรก ให้สังเกตบริเวณซอกมุม คอห่าน ภายในภายนอกโถส้วมและ โถปัสสาวะด้วย
H 2:น้ำใช้สะอาด เพียงพอ และไม่มีลูกน้ำยุง ภาชนะเก็บกักน้ำ ขันตักน้ำ สะอาด อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ คราบสกปรก คำชี้แจงการใช้เกณฑ์:น้ำสะอาด หมายถึง น้ำใส ไม่มีตะกอน ไม่มีลูกน้ำยุง ไม่มีลูกน้ำยุงในภาชนะเก็บกักน้ำภาชนะใส่ดอกไม้ประดับ
H 3: กระดาษชำระเพียงพอต่อการใช้งานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ (อาจจำหน่ายหรือบริการฟรี) หรือสายฉีดน้ำชำระที่สะอาด อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ • คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: • กรณีมีกระดาษชำระ กระดาษชำระต้องอยู่ในภาชนะที่เตรียมไว้หรือที่แขวนโดยเฉพาะ
H 4: อ่างล้างมือ ก๊อกน้ำ กระจก สะอาด ไม่มีคราบสกปรก อยู่ในสภาพดีและใช้งานได้ คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: อ่างล้างมือ ก๊อกน้ำ กระจก ให้สังเกต คราบสกปรกหรือคราบสีดำ บริเวณซอกรอยต่อระหว่างโลหะกับเนื้อกระเบื้อง และก๊อกน้ำ
H 5:สบู่ล้างมือ พร้อมให้ใช้ ตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: สบู่ล้างมือ ควรอยู่ในภาชนะใส่สบู่โดยเฉพาะถ้าเป็นสบู่เหลว ที่กดสบู่ต้องใช้งานได้
H 6: ถังรองรับมูลฝอย สะอาด มีฝาปิด อยู่ในสภาพดี ไม่รั่ว ซึม ตั้งอยู่ในบริเวณอ่างล้างมือ หรือบริเวณใกล้เคียง คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: ถังรองรับมูลฝอย สะอาด มีฝาปิด และต้องไม่มีขยะมูลฝอยล้นออกมานอกถัง
H 7: มีการระบายอากาศดี และ ไม่มีกลิ่นเหม็น คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: 1. มีช่องระบายอากาศไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่ห้อง หรือมีเครื่องระบายอากาศ 2. ไม่มีกลิ่นของอุจจาระ และปัสสาวะ และต้องไม่มีกลิ่นเหม็น ขณะราดน้ำหรือกดชักโครก ซึ่งเป็นกลิ่นจากท่อ หรือบ่อเกรอะที่ไหลย้อนขึ้นมา
H 8:สภาพท่อระบายสิ่งปฏิกูลและ ถังเก็บกักไม่รั่วแตกหรือชำรุด คำชี้แจงการใช้เกณฑ์:ไม่พบรอยแตกร้าวของท่อ ถังเก็บกักและฝาปิดบ่อเก็บกักสิ่งปฏิกูล
H 9 :จัดให้มีการทำความสะอาด และระบบการควบคุมตรวจตรา เป็นประจำ คำชี้แจงการใช้เกณฑ์ : 1. ให้มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบทำความสะอาดเป็นประจำทุกวัน ควรทำความสะอาด อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง 2. จัดให้มีเจ้าหน้าที่ควบคุมตรวจตราเพื่อให้การทำความสะอาดห้องส้วม ให้สะอาดอยู่เสมอ
A 10:จัดให้มีส้วมนั่งราบสำหรับผู้พิการ ผู้สูงวัย หญิงตั้งครรภ์และประชาชนทั่วไปอย่างน้อยหนึ่งที่ ACCESSCIBILITY คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: ส้วมนั่งราบ จะเป็นแบบชักโครกหรือราดน้ำก็ได้ ในกรณีที่สถานที่นั้นไม่มีคนพิการ หรือผู้สูงอายุหรือ ไม่มีผู้ที่มีความจำเป็นต้อง ใช้ส้วมแบบนั่งราบ ถือว่าควรผ่านการประเมิน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ประเมิน
A 11:ส้วมสาธารณะพร้อมใช้งานตลอดเวลา ที่เปิดให้บริการ คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: ห้องส้วมและอุปกรณ์พร้อมใช้งาน กรณีชำรุด ซ่อมแซมให้ติดป้าย
S 12:บริเวณที่ตั้งส้วมต้องไม่อยู่ที่ลับตา / เปลี่ยว S 13:กรณีที่มีห้องส้วมตั้งแต่ 2 ห้องขึ้นไป ให้แยกเป็น ห้องส้วมสำหรับชาย – หญิง โดยมีป้าย หรือสัญลักษณ์ที่ชัดเจน SAFETY
S14 :ประตู ที่จับเปิด – ปิด และที่ล็อกด้านใน สะอาด อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้
S 15:พื้นห้องส้วมแห้ง คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: ถ้าพื้นภายในห้องส้วมไม่แห้ง แต่ถ้าพื้นไม่ลื่นและไม่มีน้ำขัง ถือว่าควรผ่านการประเมิน ทั้งนี้ให้ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้ประเมิน
S16:แสงสว่างเพียงพอ สามารถมองเห็นได้ทั่วบริเวณ คำชี้แจงการใช้เกณฑ์:แสงสว่างอย่างน้อย 100 ลักซ์ หรือในคนสายตาปกติสามารถมองเห็นลายมือที่อยู่ห่างจากตาประมาณ 1 ฟุตได้ชัด แสดงว่าแสงสว่างเพียงพอ
การเฝ้าระวังความเสี่ยงในส้วมสาธารณะการเฝ้าระวังความเสี่ยงในส้วมสาธารณะ การทดสอบการปนเปื้อนอุจจาระ โดยการสุ่มเก็บตัวอย่างด้วยวิธี Swab Test หาเชื้ออีโคไล (Escherichia coli) ในส้วมสาธารณะ ปี 2559
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น EHA3001 การจัดการส้วมสาธารณะ
กระบวนงาน สำรวจและจัดทำฐานข้อมูล การจัดการส้วมสาธารณะ 1 กำหนดผู้รับผิดชอบ 2 ประเมินความพร้อม และความเป็นไปได้ ในการพัฒนาส้วมสาธารณะ 3 4 เสนอแนวทางการพัฒนาส้วมสาธารณะ การขอรับการประเมินและรับรองมาตรฐานส้วมสาธารณะ ดำเนินการปรับปรุง/พัฒนา ส้วมสาธารณะ 5 6
กระบวนงาน ติดตาม ควบคุม กำกับ การจัดการส้วมสาธารณะ 8 พัฒนาศักยภาพบุคลากร 7 วิเคราะห์และประเมินผลกระบวนการจัดการส้วมสาธารณะ เฝ้าระวังความสะอาด ส้วมสาธารณะ 10 9 11 พัฒนาการดำเนินงาน
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 1 : กำหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเตรียมการ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 2 : สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลการจัดการส้วมสาธารณะ ระยะดำเนินการ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 3 : ประเมินความพร้อม และความเป็นไปได้ ในการพัฒนาส้วมสาธารณะ ระยะดำเนินการ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 4 : เสนอแนวทางการพัฒนาส้วมสาธารณะ ระยะดำเนินการ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะดำเนินการ ขั้นตอนที่ 5 : ดำเนินการปรับปรุง/พัฒนาส้วมสาธารณะ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 6 : การขอรับการประเมินและรับรองมาตรฐาน ส้วมสาธารณะ ระยะดำเนินการ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 7 : ติดตาม ควบคุม กำกับ การจัดการส้วมสาธารณะ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 8 : พัฒนาศักยภาพบุคลากร
การปฏิบัติงาน ระยะติดตามและ ประเมินผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 9 : เฝ้าระวังด้านความสะอาดส้วมสาธารณะ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 10 : วิเคราะห์และประเมินผลกระบวนการจัดการส้วมสาธารณะ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 11 : พัฒนาการดำเนินงาน
องค์ประกอบที่ 6 การจัดการกระบวนการ คะแนนเต็ม 100 คะแนน
องค์ประกอบที่ 7 การวัดผลลัพธ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน 1 2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานพัฒนาส้วมสาธารณะทั้งหมดที่ไม่อยู่ในความรับผิดชอบ มีผลส้วมสาธารณะผ่านมาตรฐาน HAS ตั้งแต่ร้อยละ 25 ของจำนวนประเภท (setting) (10 คะแนน)
องค์ประกอบที่ 7 การวัดผลลัพธ์ 3 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีผลการตรวจเชื้อ Fecal Coliform Bacteria ในส้วมสาธารณะทุกประเภท (setting)ที่อยู่ในความรับผิดชอบ (20 คะแนน) 4
องค์ประกอบที่ 7 การวัดผลลัพธ์
เทคนิคการตรวจประเมิน คุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านการจัดการส้วมสาธารณะ