230 likes | 402 Views
การประเมินผลการดำเนินงานยุทธศาสตร์ที่ 3. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553. “ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ อย่างเป็นระบบ ตามบริบทของกรมการแพทย์”. คณะทำงาน ประเมินยุทธศาสตร์ที่ 3. 15 ต.ค.2553 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นท์ กรุงเทพฯ. กรมการแพทย์เป็นหน่วยงานทางวิชาการในสังกัดของ
E N D
การประเมินผลการดำเนินงานยุทธศาสตร์ที่ 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 “ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ อย่างเป็นระบบ ตามบริบทของกรมการแพทย์” คณะทำงาน ประเมินยุทธศาสตร์ที่ 3 15 ต.ค.2553 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นท์ กรุงเทพฯ
กรมการแพทย์เป็นหน่วยงานทางวิชาการในสังกัดของ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีสถาบันและโรงพยาบาลเฉพาะทาง ในสังกัดหลายแห่ง จึงมีบุคลากรทางการแพทย์ที่มีความ- เชี่ยวชาญ สาขาต่างๆ ในแต่ละหน่วยงานเป็นจำนวนมากเมื่อ เปรียบเทียบกับคณะแพทย์ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ซึ่งควร จะนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติและประชาชน และเพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานอย่างเป็นระบบ การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และตรงต่อสภาพ ปัญหาของประเทศกรมการแพทย์จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์ การดำเนินงานที่ 3 : ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ อย่างเป็นระบบตามบริบทของกรมการแพทย์
ผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์(ปีงบประมาณ 2553) จากข้อมูลรายงานระบบติดตามผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ กรมการแพทย์ ปีงบประมาณพ.ศ. 2553 งบประมาณภาพรวม 50.76 ล้านบาท - เงินงบประมาณ 20 โครงการ 27.38 ล้านบาท - เงินนอกงบประมาณ 34 โครงการ 23.38 ล้านบาท - ไม่ใช้งบประมาณในการดำเนินงาน 4 โครงการ จำแนกลักษณะ เป้าหมายกิจกรรม ของแผนงาน/โครงการได้ 3 ประเภท คือ 1. บริการ เพื่อบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ 27 โครงการ 2. การประชุม อบรม สัมมนา เพื่อให้ความรู้แก่บุคลากร 22 โครงการ 3. การณรงค์ 12 โครงการ * ในแต่ละโครงการอาจมีวัตถุประสงค์หลายเป้าหมาย*
1. บริการทางการแพทย์เคลื่อนที่ (บำบัด รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ) อาทิ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง North ลำพูน หนองคาย แพร่ นครพนม อุตรดิตถ์ อุดรธานี เลย สกลนคร 1. โครงการกรมการแพทย์พัฒนาคุณภาพ ชีวิตคนพิการแบบเบ็ดเสร็จ ปี 2553 2. บริการตรวจคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคปอด ในชุมชน 3. โครงการตรวจคัดกรองป้องกัน เบาหวานเข้าจอประสาทตา 4. โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งสำหรับ ประชาชนในจังหวัดลำปาง 5. โครงการนำร่องคัดกรองมะเร็ง ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก หนองบัวลำภู สุโขทัย ตาก พิษณุโลก กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ขอนแก่น กำแพงเพชร พิจิตร มหาสารคาม เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี อุบลราชธานี ชัยนาท ลพบุรี นครราชสีมา สิงห์บุรี ศรีสะเกษ สุพรรณบุรี บุรีรัมย์ สุรินทร์ อ่างทอง สระบุรี กาญจนบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ สมุทรสาคร ราชบุรี สมุทรสงคราม ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด ประจวบคีรีขันธ์ ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร นนทบุรี นครปฐม ชุมพร พระนครศรีอยุธยา ระนอง 27 โครงการ 18 จังหวัด ผู้รับบริการ 38,625 ราย สุราษฏร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
2. ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในพื้นที่ (ประชุม อบรม สัมมนา) อาทิ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง North ลำพูน หนองคาย แพร่ นครพนม อุตรดิตถ์ อุดรธานี เลย สกลนคร หนองบัวลำภู สุโขทัย ตาก พิษณุโลก • โครงการพัฒนาสุขภาพประชาชนโดยการผ่าตัดทางกล้อง เรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านผ่าตัดทางกล้องและด้าน จอประสาทตา • อบรมหลักสูตร การดูแลรักษาและป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง • โครงการพัฒนาบุคลากรนำร่องรองรับระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับตติยภูมิ ในหน่วยงานเครือข่าย 4 ภาค สังกัดกระทรวงสาธารณสุข กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ขอนแก่น กำแพงเพชร พิจิตร มหาสารคาม เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี อุบลราชธานี ชัยนาท ลพบุรี นครราชสีมา สิงห์บุรี ศรีสะเกษ สุพรรณบุรี บุรีรัมย์ สุรินทร์ อ่างทอง สระบุรี กาญจนบุรี อยุธยา นครนายก ปราจีนบุรี นครปฐม สระแก้ว ฉะเชิงเทรา สมุทรสาคร ราชบุรี สมุทรสงคราม ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด ประจวบคีรีขันธ์ ปทุมธานี กรุงเทพฯ นนทบุรี ชุมพร ระนอง สมุทรปราการ 22 โครงการ 21 จังหวัด ผู้รับบริการ 15,391 คน สุราษฏร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
3. รณรงค์และเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพสำคัญ โดยการจัดกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน อาทิ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง North ลำพูน หนองคาย แพร่ นครพนม อุตรดิตถ์ อุดรธานี เลย สกลนคร หนองบัวลำภู สุโขทัย ตาก พิษณุโลก กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ขอนแก่น • โครงการรณรงค์มะเร็งตับโดยผู้นำชุมชน • โครงการรณรงค์ป้องกันมะเร็งเต้านม • โครงการรณรงค์ป้องกันเบาหวาน เข้าจอประสาทตา • โครงการรณรงค์ให้ความรู้และการฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งช่องปากในภาคใต้ • โครงการคนรักษ์หัวใจ • โครงการอาหารปลอดภัยเด็กไทย • พ้นภัยสารพิษพลาสติก กำแพงเพชร พิจิตร มหาสารคาม เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี อุบลราชธานี ชัยนาท ลพบุรี นครราชสีมา สิงห์บุรี ศรีสะเกษ สุพรรณบุรี บุรีรัมย์ สุรินทร์ อ่างทอง สระบุรี กาญจนบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ สมุทรสาคร ราชบุรี สมุทรสงคราม ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด ประจวบคีรีขันธ์ ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร นนทบุรี นครปฐม ชุมพร พระนครศรีอยุธยา ระนอง 12 โครงการ 3 จังหวัด ผู้รับบริการ 5,639 คน สุราษฏร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
ผลสำเร็จของการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ผลสำเร็จของการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ • ตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กรมการแพทย์ 2551 - 2554 • เป้าหมายการให้บริการกระทรวงสาธารณสุข • คำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายตามแผนฯ 4 ปี 2551 - 2554
ผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ที่ 3 เปรียบเทียบกับตัวชี้วัด/เป้าหมายประจำปี 2553
ผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ที่ 3 พิจารณาความครอบคลุมด้านพื้นที่และประชากร (76 จังหวัด ประชากร 63.52 ล้านคน) 1. บริการทางการแพทย์เคลื่อนที่ (บำบัด รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ) 18 จังหวัด (26.86%) 38,625 ราย (0.61%) 2. ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในพื้นที่ (ประชุม อบรม สัมมนา) 21 จังหวัด (31.34%) 15,391 ราย (0.24%) 3. รณรงค์และเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพสำคัญ โดยการจัดกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน 3 จังหวัด (4.4%) 5,639 ราย (0.09%)
การตอบสนองนโยบายกระทรวงสาธารณสุข“กลุ่มโรคสำคัญของที่ต้องเร่งดำเนินการในปี 2553”
โรคไม่ติดต่อ โรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่ • โรควัณโรค • โรคเอดส์ • โรคไข้เลือดออก • โรคเบาหวาน • โรคความดันโลหิตสูง • โรคหัวใจ • โรคหลอดเลือดสมอง • โรคมะเร็ง • โรคไข้หวัดใหญ่ • สายพันธุ์ใหม่ 2009 โรคทางจิตใจ • การฆ่าตัวตาย
ตัวชี้วัด - อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดสมองไม่เกิน 20.78 ต่อประชากรแสนคน - - อัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรแสนคน - อัตราตายด้วยโรควัณโรคไม่เกิน 7.15 ต่อประชากรแสนคน
ผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ที่ 3 เปรียบเทียบกับกลุ่มโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดเป็นปัญหาสำคัญ
ข้อจำกัดของการดำเนินงานข้อจำกัดของการดำเนินงาน 1. ไม่สามารถกำหนดเป็นผลผลิต กิจกรรม เพื่อตั้งคำขอ งบประมาณ รองรับการดำเนินงานยุทธศาสตร์ที่ 3 ได้โดยตรง เนื่องจากไม่ใช่ภารกิจหลักของกรม แต่เป็น บทบาทภารกิจของหน่วยงานในพื้นที่ แนวทางดำเนินการในปัจจุบัน ตั้งคำของบประมาณภายใต้ ผลผลิต: องค์ความรู้ด้านสุขภาพได้รับการศึกษา วิจัย และ ถ่ายทอด กิจกรรม: ศึกษา วิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้
ข้อจำกัดของการดำเนินงาน (ต่อ) 2. ไม่ครอบคลุมการดำเนินการแก้ไขปัญหาด้านเกี่ยวกับ ยาและสารเสพติด เนื่องจากถือเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ที่ 4: การพัฒนาบริการทางการแพทย์ด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด
ข้อจำกัดของการประเมินยุทธศาสตร์ที่ 3 1. รายงานผลงานไม่จำแนกรายละเอียดที่ต้องการ ทำให้ไม่สามารถระบุพื้นที่การให้บริการของผู้รับบริการ หรือสถานที่ปฏิบัติงานของผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งส่งผล ต่อการประเมินว่าประชาชนได้รับบริการทั่วถึงหรือไม่ 2. ไม่สามารถจำแนกงบประมาณในแต่ละกิจกรรมได้ เนื่องจาก การใช้งบประมาณเป็นภาพรวมทุกกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ 1. แผนงาน/โครงการในกิจกรรมการรณรงค์ส่วนใหญ่เป็น การป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง ซึ่งดำเนินงานในกรุงเทพฯ ซึ่งผู้ป่วยโรคมะเร็งกระจายอยู่ในทุกจังหวัด ควรขยายพื้นที่ดำเนินกิจกรรมไปในต่างจังหวัด เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสในการรับรู้ข้อมูลการป้องกัน โรคมะเร็งได้ครอบคลุมเพิ่มขึ้น
ข้อเสนอแนะ (ต่อ) • 2. กรมการแพทย์ควรสนับสนุนให้สถาบัน/ โรงพยาบาล จัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อช่วยแก้ลดปัญหาโรคที่เป็นปัญหาสำคัญต่อการป่วยและตายของประชาชน โดยเฉพาะ โรคที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการ คือ • โรคเบาหวาน • โรคความดันโลหิตสูง • โรคหัวใจ • โรคหลอดเลือดสมอง • โรคมะเร็ง • ด้านยาเสพติด
ข้อเสนอแนะ (ต่อ) 3. ควรให้ผู้รายงานระบุวงเงินที่ดำเนินการ แต่ละกิจกรรมของแผนงาน/ โครงการ เพื่อให้สามารถประเมินประสิทธิภาพ ของการใช้จ่ายงบประมาณได้ 4. กรมการแพทย์ควรเสนอ Appropriation Technology ของประเทศ
ข้อเสนอแนะ (ต่อ) 5. แต่ละยุทธศาสตร์ ยังไม่มีตัวชี้วัดที่มีผลกระทบโดยตรงต่อสถานะสุขภาพของประชาชน เช่น - โรงพยาบาลที่มีมาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุกี่แห่ง กระจายตาม ภูมิภาคต่างๆ - โรงพยาบาลที่เพิ่มขี้ดความสามารถในการผ่าตัดทางกล้อง กี่แห่งตามภูมิภาคต่างๆ ขอบคุณครับ