690 likes | 896 Views
E N D
การพัฒนาบทเรียนบนอินเตอร์เน็ตเรื่องหลักระบาดวิทยาสำหรับทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วระดับอำเภอจังหวัดในเขตตรวจราชการที่ 14 (เขต 13 ปัจจุบัน)(A Development of an Internet Learning Program of Epidemiology for surveillance and Rapid Response district Team in Health Inspector Region 14)
คณะผู้วิจัย 1. เกศรา แสนศิริทวีสุข* 2. ชูชาติ บันลือ* 3, นิพนธ์ แสนโคตร*, 4. มนัสนันท์ ลิมปวิทยากุล* 5, วชิราวิชย์ ลิมปวิทยากุล* 6, ณิชาภา ศรีชัยศรี** * สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ** สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี
ขอบเขตการนำเสนอ 1. การจัดการก่อนทำ (Before Action Review) 1.1 จุดเริ่มต้นของความคิด 1.2 คำถามเพื่อการพัฒนางาน 1.3 วิธีการจัดการก่อนทำ 2. การจัดการะหว่างทำ (During Action Review) 2.1 ทำอย่างไรเพื่อสร้างและพัฒนาบทเรียน 2.2 ขั้นตอนและวิธีการศึกษา 2.3 วิธีการจัดการระหว่างทำ 2.4 ผลของการจัดการ(ผลการศึกษา)
ขอบเขตการนำเสนอ(ต่อ) 3. การจัดการหลังทำ (After Action Review) - วิธีการจัดการหลังทำ - ความสำเร็จและความภูมิใจ - ปํญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะ - เคล็ดลับความสำเร็จ - ผลงานที่ชื่นชอบ
1. การจัดการก่อนทำ (Before Action Review) 1.1 จุดเริ่มต้นของความคิด 1.2 คำถามเพื่อการพัฒนางาน 1.3 วิธีการจัดการก่อนทำ BAR DAR BAR
1.1จุดเริ่มต้น(แรงบันดาลใจ)1.1จุดเริ่มต้น(แรงบันดาลใจ) จากงานประจำ และการทบทวนการทำงาน(AAR) การถ่ายทอดความรู้และพัฒนาทีม SRRT ทำอะไร/ทำอย่างไร/ปัญหาคืออะไร
ปัญหาที่พบคือ ? เนื้อหา ระยะเวลา งบประมาณ 1. หลักสูตร การถ่ายทอด 2. ผู้สอน 3. ผู้เรียน 4. คุณภาพการเรียนรู้ - พื้นฐาน/ประสบการณ์ - ความสนใจการเรียน/รับรู้ - ปริมาณผู้เข้าอบรม - เทคนิค/ประสบการณ์การทำงาน/สอน
ปัจจัยภายนอก • โลกไร้พรมแดน • การสื่อสารไร้พรมแดน • โรคและภัยสุขภาพ • ไร้พรมแดน
1.2คำถามเพื่อการพัฒนางาน1.2คำถามเพื่อการพัฒนางาน ทำอย่างไรทีม SRRT จึงจะ…….. • เข้าถึงองค์ความรู้ได้ง่ายๆ • รวดเร็ว/ ตามที่ต้องการ • วงกว้าง / ไม่จำกัดแหล่งเรียนรู้ (ทุกบุคคล/เวลา/สถานที่) - ไม่เบื่อหน่ายในการเรียน
จากปัญหา/ความต้องการ AAR ทบทวนเอกสาร/งานวิจัยฯ BAR สร้างทางเลือกใหม่ในการเรียนรู้ DAR การสร้าง/พัฒนาบทเรียนออนไลน์ DAR & AAR
คำถามการวิจัย • บทเรียนบนอินเตอร์เน็ต เรื่องหลักระบาดวิทยา มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 หรือไม่ 2. การเรียนการสอนบนอินเตอร์เน็ตจะทำให้ผู้เรียน มีความรู้ และความพึงพอใจอย่างไร
การจัดการก่อนทำ:วิจัย • เลือกทีมงานวิจัย/หาที่ปรึกษางานวิจัย • ทบทวนเอกสาร/คู่มือ/งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ศึกษาสื่อจากแหล่งต่างๆ/แนวทางจัดทำสื่อ • วางกรอบแนวคิด/ออกแบบการศึกษา • เขียนโครงร่างการวิจัย/ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ • ปรับโครงร่างวิจัย
2. การจัดการระหว่างทำ (During Action Review) 2.1 ทำอย่างไรเพื่อสร้างและพัฒนาบทเรียน 2.2 ขั้นตอนและวิธีการศึกษา 2.3 วิธีการจัดการระหว่างทำ 2.4 ผลของการจัดการ(ผลการศึกษา) BAR DAR BAR
2.1 How to : ทำอย่างไรเพื่อสร้างและพัฒนาบทเรียน วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อสร้างและพัฒนาบทเรียนบนอินเตอร์เน็ต เรื่องหลักระบาดวิทยาสำหรับบุคลากรสาธารณสุขโดยเฉพาะทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน กำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้คำตอบการวิจัย
วัตถุประสงค์เฉพาะ • เพื่อสร้างและพัฒนาบทเรียนบนอินเตอร์เน็ต เรื่อง หลักระบาดวิทยา สำหรับบุคลากรสาธารณสุขโดยเฉพาะทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)
วัตถุประสงค์เฉพาะ(ต่อ)วัตถุประสงค์เฉพาะ(ต่อ) 2. เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังเรียน เรื่อง หลักระบาดวิทยา จากบทเรียนบนอินเตอร์เน็ตของบุคลากรสาธารณสุขโดยเฉพาะทีม SRRT 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน โดยใช้บทเรียนบนอินเตอร์เน็ต เรื่อง หลักระบาดวิทยาของบุคลากรสาธารณสุขโดยเฉพาะทีม SRRT
สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1.หลักระบาดวิทยา 2. การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 3. สถิติพื้นฐานที่ใช้ทางระบาดวิทยา 4. หลักการนำเสนอข้อมูล 5. หลักการสอบสวนโรคและหลักการเขียนรายงาน 6. รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา กรอบแนวคิดในการวิจัย วัดความ พึงพอใจและประสิทธิ ภาพบทเรียน บท เรียน ที่ผ่านการพัฒนา และปรับ ปรุง การพัฒนา บท เรียน และทดลอง ใช้ 2 ครั้ง ทดลองบทเรียนกับกลุ่มทดลอง 126 คน Pre-test Post-test ความแตกต่าง ของความรู้
2.2. ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
2.2.1 จะเก็บข้อมูลกับใคร/อย่างไร ?
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มที่ ประสบการณ์ จำนวน(คน) การทดลองใช้(จำนวน..คน) กลุ่มทดลอง ทั้งหมด 1:1 กลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ 1 มาก 44 1 3 29 2 ปานกลาง 36 1 3 24 3 น้อย 46 1 3 31 4 ไม่มี 63 1 3 42 รวม 189 4 12 126
การคำนวณขนาดตัวอย่าง n = Zœ2 PQN Zœ2 PQ + Nd2 = 126
บุคลากรสาธารณสุขที่เป็นสมาชิกทีม SRRT จำนวน 189 คน กลุ่มที่ 1 (ประสบการณ์มาก) ประชากร 44คน สุ่มอย่างง่าย (จับสลาก) กลุ่มที่ 2 (ประสบการณ์ปานกลาง) ประชากร 36คน สุ่มอย่างง่าย(จับสลาก) กลุ่มที่ 3 (ประสบการณ์น้อย) ประชากร 46คน สุ่มอย่างง่าย(จับสลาก) กลุ่มที่ 4 (ไม่มีประสบการณ์) ประชากร 63คน สุ่มอย่างง่าย(จับสลาก) กลุ่มตัวอย่าง 29คน กลุ่มตัวอย่าง 24คน กลุ่มตัวอย่าง 31คน กลุ่มตัวอย่าง 42คน รวมกลุ่มตัวอย่าง 126 คน การสุ่มตัวอย่าง
2.2.2 เครื่องมือที่ใช้คืออะไร… บทเรียนออนไลน์แบบทดสอบวัดความรู้แบบทดสอบวัดความพึงพอใจแบบประเมินประสิทธิภาพบทเรียน
โปรแกรมที่ใช้ Moodle 1.9 ADOBE FLASH 8.0Cool edit Pro version 2 Microsoft Powerpoint 2003 Microsoft Word 2003
2.2.3 ขั้นตอนการวิจัยทำอย่างไร เตรียมแผนการสอน กำหนดเนื้อหาและวิธีการประเมินผล สร้างบทเรียนโปรแกรมและแบบประเมินประสิทธิภาพ (ความรู้และความพึงพอใจ) ปรับปรุงแก้ไขโดยคณาจารย์และผู้เชี่ยวชาญ
ปรับปรุงแก้ไขโดยคณาจารย์และผู้เชี่ยวชาญปรับปรุงแก้ไขโดยคณาจารย์และผู้เชี่ยวชาญ ทดลองแบบวัดความรู้ สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ทดลองครั้งที่ 1 เพื่อหาค่าความยากง่ายและหาค่าอำนาจจำแนก พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนที่ 1ทดลองบทเรียนในกลุ่มตัวอย่างหนึ่งต่อหนึ่ง4 คน ขั้นตอนที่ 2ทดลองบทเรียนในกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเล็ก 12 คน ทดลองครั้งที่ 2 เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น
บทเรียนที่ผ่านการปรับปรุงและหาคุณภาพบทเรียนที่ผ่านการปรับปรุงและหาคุณภาพ การทดลองบทเรียนบนอินเตอร์เน็ทกลุ่มทดลอง 126 คน โดยการเปรียบเทียบคะแนน Pre-test / Post-test เพื่อหาประสิทธิภาพบทเรียน วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัดประสิทธิภาพบทเรียนและความพึงพอใจ สรุปผลการวิจัย
2.3.วิธีการจัดการระหว่างทำ(DAR)2.3.วิธีการจัดการระหว่างทำ(DAR) • การเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างการทดลอง (บันทึก/การสอบถาม/สังเกต/การประเมินผล) • การแก้ไขและพัฒนาบทเรียน
ชี้แจงระหว่างการทดลองกลุ่มใหญ่ชี้แจงระหว่างการทดลองกลุ่มใหญ่
ภาพการทดลองกลุ่มใหญ่ ;วิทยาดร
2.4. ผลของการจัดการ(ผลวิจัย)
ประสิทธิภาพของบทเรียนประสิทธิภาพของบทเรียน การทดลอง จำนวน(คน) คะแนนขณะเรียน คะแนนหลังเรียน เต็ม ได้ ร้อยละ เต็ม ได้ ร้อยละ • หนี่งต่อหนึ่ง4 60 44.0 77.33 30 20.75 69.17 • กลุ่มเล็ก 12 60 49.6 82.60 30 25.30 84.20 • กลุ่มทดลอง109 60 49.4 82.30 30 25.60 85.20
ปัญหาและการแก้ไขในการทดลอง กลุ่ม 1 : 1
ประสิทธิภาพของบทเรียนประสิทธิภาพของบทเรียน การทดลอง จำนวน(คน) คะแนนขณะเรียน คะแนนหลังเรียน เต็ม ได้ ร้อยละ เต็ม ได้ ร้อยละ • หนี่งต่อหนึ่ง 4 60 44.0 77.33 30 20.75 69.17 • กลุ่มเล็ก 12 60 49.6 82.60 30 25.30 84.20 • กลุ่มทดลอง109 60 49.4 82.30 30 25.60 85.20
ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน คะแนน ค่าเฉลี่ย S.D D S.D 95%CI ก่อนเรียน 12.89 5.24 -12.67 4.18 -13.47- หลังเรียน25.57 2.35 -11.88
ความพึงพอใจในการเรียนความพึงพอใจในการเรียน ระดับความพีงพอใจ จำนวน % มากที่สุด 56 51.4 มาก 33 30.3 ปานกลาง 20 18.3 น้อย/ไม่พอใจ 0 0
3. การจัดการหลังทำ (After Action Review) 3.1 วิธีการจัดการหลังทำ 3.2 ความสำเร็จและความภูมิใจ 3.3ปัญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะ 3.4 เคล็ดลับความสำเร็จ 3.5ผลงานที่ชื่นชอบ BAR DAR BAR
3.1 วิธีการจัดการหลังทำ 1. ประชุมทีมสรุปบทเรียนอย่างต่อเนื่องทุกขั้นตอน 2. ปรึกษาที่ปรึกษาก่อน/ระหว่าง/หลังทำ 3. จัดทำเอกสารรายงานวิจัยเผยแพร่ 4. เผยแพร่บทเรียนออนไลน์ในวงกว้าง
3.2 ความสำเร็จและภูมิใจ • ได้ประสบการณ์ในการทำงาน/ • ทีมงานที่มีคุณภาพ • ได้บทเรียนบนอินเตอร์เน็ตที่มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 4. บริการความรู้ทางด้านระบาดวิทยาบนอินเตอร์เน็ต แก่ผู้ที่สนใจ
3.3ปัญหาอุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ
3.4 กุญแจความสำเร็จ (เคล็ดลับการทำงาน) การวางแผนการทำงาน การปฏิบัติงานตามแผนฯ การทำงานเป็นทีม - ความตั้งใจของทีมงาน - ความร่วมมือ/ร่วมใจ
3.4 กุญแจความสำเร็จ (เคล็ดลับการทำงาน) เทคนิคการประสาน - ภายในทีม - ภายนอกทีม (ผู้เชี่ยวชาญ) การบริหารและจัดการความรู้ ก่อนทำ/ระหว่างทำ/หลังทำ