200 likes | 330 Views
Special Operating Agency. Crown Entity. การจัดตั้งองค์การภาครัฐ. ยันยงค์ คำบรรลือ. ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.ร. 9/11/2549. กรอบแนวคิดบทบาทภาครัฐแนวใหม่. รัฐชาติ ประชาชาติรัฐ ( Territory state ) ( Strategic State ). ลักษณะสำคัญของภาครัฐไทยสมัยใหม่.
E N D
Special Operating Agency Crown Entity การจัดตั้งองค์การภาครัฐ ยันยงค์ คำบรรลือ ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.ร. 9/11/2549
กรอบแนวคิดบทบาทภาครัฐแนวใหม่กรอบแนวคิดบทบาทภาครัฐแนวใหม่ รัฐชาติ ประชาชาติรัฐ (Territory state) (Strategic State)
ลักษณะสำคัญของภาครัฐไทยสมัยใหม่ลักษณะสำคัญของภาครัฐไทยสมัยใหม่ 1. ภาครัฐไทยสมัยใหม่จะมีความเป็นรัฐชาติ (Nation - State) น้อยลงตามความหมายเดิมที่ยึดถือดินแดนเป็นสำคัญ แต่จะมีความเป็น รัฐยุทธศาสตร์ (Strategic State) หรือ ประชาชาติรัฐ มากขึ้น 2. เป็นภาครัฐที่มีพันธกิจในการวางนโยบาย ยุทธศาสตร์ และดำเนินการตามพันธะสัญญาที่ให้ไว้แก่คนกลุ่มต่างๆ ที่หลากหลาย ขณะเดียวกัน รัฐจะไม่ใช่ตัวแสดงนำที่ รับผิดชอบเองในหน้าที่ภารกิจทุกประเภท แต่เป็นรัฐที่ รับผิดชอบภารกิจเชิงกลยุทธเป็นหลัก
ลักษณะสำคัญของภาครัฐไทยสมัยใหม่ลักษณะสำคัญของภาครัฐไทยสมัยใหม่ 3. ใช้แนวทางการบริหารจัดการแบบกระจายความรับผิดชอบ (Distributed Governance) นั่นคือ กระจายและแบ่งปันความรับผิดชอบ (Sharing Responsibility) และความชอบธรรมในการจัดการและการดำเนินภารกิจต่างๆไปยังภาคส่วนต่างๆ ในสังคม 4. ในอนาคตภาครัฐจะไม่ทำโครงการต่างๆเสียเอง แต่จะวางเงื่อนไขแล้วทำสัญญามอบอำนาจให้หน่วยงานอื่นทำ โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรประชาสังคม
การแสดงบทบาทใหม่ของภาครัฐไทยสมัยใหม่การแสดงบทบาทใหม่ของภาครัฐไทยสมัยใหม่ 1. จัดกลุ่มหน้าที่ตามหลักความจำเป็นพื้นฐาน และหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ การทำหน้าที่ของรัฐ 2. จัดความสัมพันธ์ทางอำนาจระหว่างรัฐกับ ประชาชนเพื่อเพิ่มพลังประชาชน 3. ปฏิรูปการบริหารงานภาครัฐให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
1. การจัดกลุ่มหน้าที่ตามหลักความจำเป็น พื้นฐานและหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของการทำหน้าที่ของรัฐ 1.1 หน้าที่พื้นฐานของรัฐที่รัฐต้องดำเนินการเอง 1.2 หน้าที่พื้นฐานด้านการพัฒนาที่รัฐควร ดำเนินการเชิงกลยุทธเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของรัฐโดยรัฐไม่ได้เป็น ตัวแสดงเอง
หน่วยงานของรัฐรูปแบบต่าง ๆ หน่วยงาน Public Sector Private Sector Devolution Corporatization Privatization ส่วนกลาง ราชการ (GO) หน่วยบริการ รูปแบบพิเศษ (SDU) องค์การมหาชน (APO) รัฐวิสาหกิจ (SE) บริษัท เอกชน (Private Entities) ส่วนภูมิภาค ราชการ การจัด บริการ NGOs องค์กรประชาชน พื้นที่ Decentralization ส่วนท้องถิ่น การปกครอง ท้องถิ่น (LGO) ดำเนินการร่วมกัน จ้างเหมาเอกชน
บทบาทของภาคราชการ ส่วนกลาง 1. นโยบาย (Policy formulation) 2. มาตรการ (Regulation) 3. มาตรฐาน (Standard) 4. จัดสรรทรัพยากรและสนับสนุน 5. ติดตามและประเมินผล 6. ปฏิบัติงานบางประเภทที่เป็นบริการเขตประเทศ
ส่วนราชการ • งานจัดการเชิงนโยบาย • กำหนดมาตรการ มาตรฐาน • จัดสรรทรัพยากร • กำกับ ติดตามประเมิน
กำหนดบทบาทภารกิจของกระทรวงกำหนดบทบาทภารกิจของกระทรวง • รวมงานตามภารกิจของรัฐไว้ด้วยกัน • เป็นเจ้าภาพในการซื้อหรือขายบริการเพื่อบรรลุเป้าหมายตามภารกิจ • เชื่อมโยงเครือข่ายเป็นพันธมิตรกับภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม • รัฐมนตรีเป็นผู้กำหนด นโยบาย เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของตนเองในฐานะเป็นเจ้าภาพ • ราชการประจำนำนโยบายไปทำแผนปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
องค์การมหาชน (APO) องค์การมหาชน เป็นองค์การของรัฐที่มีเงื่อนไขการจัดการแบบธุรกิจ (Corporatization) โดยต้องจ่ายภาษีและค่าธรรมเนียมที่ต้องจ่ายให้รัฐเพื่อความมีอิสระในการบริหารและสามารถระดมทุนได้เป็นการสร้างความเท่าเทียมให้รัฐสามารถแข่งขันกับภาคเอกชนได้
องค์การมหาชน (APO) • จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง • หน่วยงาน ตาม พ.ร.บ. องค์การมหาชน • พ.ศ. 2542 • จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะ • แต่ละแห่ง
องค์การมหาชน (APO) จัดตั้งตาม พ.ร.ฎ. จัดตั้งหน่วยงาน รับผิดชอบภารกิจของรัฐในการให้บริการ สาธารณะเฉพาะด้านตามมาตรา 5 แห่ง พ.ร.บ. องค์การมหาชน พ.ศ. 2542
แผนยุทธศาสตร์ มาตรา 16 Service Delivery Unit (SDU.) Special Operating Agency Crown Entity Executive Agency องค์การของรัฐ องค์การ มหาชน ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ SDU. กองทุนอื่น ๆ
SDUคือหน่วยงานให้บริการภายในของระบบราชการที่มุ่งเน้นในเรื่องของประสิทธิภาพและคุณภาพของการดำเนินงานSDUคือหน่วยงานให้บริการภายในของระบบราชการที่มุ่งเน้นในเรื่องของประสิทธิภาพและคุณภาพของการดำเนินงาน • มีลักษณะเด่นดังนี้ • กึ่งอิสระ(quasi-autonomy)หรือมีarm’s lengthออกไปได้ในระดับหนึ่ง • ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลซึ่งแยกออกไปต่างหากจากหน่วยงานแม่(parent organization)ดังเช่นกรณีขององค์การมหาชนหรือรัฐวิสาหกิจ หน่วยบริการรูปแบบพิเศษยังคงถือเป็นส่วนหนึ่งของกระทรวงหรือกรม อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของปลัดกระทรวงหรืออธิบดีสุดแล้วแต่กรณี มีเป้าหมายให้บริการหน่วยงานแม่เป็นอันดับแรก หน่วยงานแม่ SDU ส่วนราชการ ส่วนราชการ ส่วนราชการ
หน่วยงานแม่จัดให้มีคณะกรรมการอำนวยการจำนวน 3-5 คน ทำหน้าที่กำหนดนโยบาย และมีผู้อำนวยการทำหน้าที่บริหาร หน่วยบริการรูปแบบพิเศษจะต้องมีอิสระคล่องตัวในการจัดโครงสร้างองค์การ อัตรากำลังและค่าตอบแทนของตนเองได้ตามความเหมาะสม โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการอำนวยการ หรือคณะกรรมการบริหาร หรือผู้บังคับบัญชา สุดแล้วแต่กรณี หน่วยงานแม่ คณะกรรมการ SDU ผู้อำนวยการ บริหารจัดการในเชิงธุรกิจ
SDU วัตถุประสงค์ไม่แสวงหากำไร เรียกเก็บค่าบริการ และนำรายได้บางส่วนส่งคลังลักษณะภาษีเงินได้ กับสามารถนำไปใช้จ่ายได้ 4 ลักษณะ รายได้ รายจ่าย “ภาษีเงินได้” ส่งคลัง ลงทุน Internal Charge SDU สร้างแรงจูงใจ พัฒนาองค์กร Direct Charge สวัสดิการหน่วยงานแม่
กระบานการ ขั้นตอนการจัดตั้ง พ.ร.บ.(กรม) ค.ร.ม.อนุมัติ ส่วนราชการ กฎกระทรวง(กอง) ก.พ.ร. APO พ.ร.ฎ. คณะกรรมการโครงสร้างกระทรวง คณะกรรมการโครงสร้างกรม มติ ค.ร.ม. SDU
ขอขอบคุณท่านที่รับฟังขอขอบคุณท่านที่รับฟัง