240 likes | 329 Views
การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เรื่องคุณภาพอากาศสำหรับ เด็ก. สุวรรณี อัศวกุลชัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต ดินแดง กรุงเทพฯ 10400 e-mail : suwannee_ads@utcc.ac.th. Topics. Introduction Objectives Methodology Result and discussion
E N D
การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เรื่องคุณภาพอากาศสำหรับเด็กการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เรื่องคุณภาพอากาศสำหรับเด็ก สุวรรณี อัศวกุลชัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต ดินแดง กรุงเทพฯ 10400 e-mail : suwannee_ads@utcc.ac.th
Topics • Introduction • Objectives • Methodology • Result and discussion • Conclusion and recommendation • Acknowledgement
Introduction • เมืองน่าอยู่ (healthy cities) หมายถึง เมืองที่มีการสร้างสรรค์และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทั้งด้านกายภาพและสังคมอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการขยายแหล่งทรัพยากรของชุมชน โดยให้ประชาชนในชุมชนได้มีส่วนร่วมและช่วยเหลือซึ่งกันและกันเกี่ยวกับการดำเนินวิถีทางของชีวิต เพื่อให้ได้ศักยภาพหรือคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด (ไชยยันตร์ 2538) • การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เป็นสื่อสำหรับการเรียนการสอนจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจ และทำให้เด็กสนใจเรียนมากขึ้น
Objectives • วิเคราะห์และออกแบบรูปแบบเกม • การพัฒนาเกม โดยใช้ Macromedia Flash เป็นเครื่องมือ • ทดสอบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อคอมพิวเตอร์และด้านเนื้อหาของเกมจำนวน 6 ท่าน และปรับปรุงแก้ไขเกมให้สมบูรณ์ • ทดสอบเกมโดยนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 • สอบถามความพึงพอใจของเกมจากนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6
Methodology • ประมวลเนื้อหางานวิจัยทั้ง 3 เรื่อง สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาประกอบในการพัฒนาเกม • วิเคราะห์และออกแบบรูปแบบเกม • การพัฒนาเกม โดยใช้ Macromedia Flash เป็นเครื่องมือ • ทดสอบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อคอมพิวเตอร์และด้านเนื้อหาของเกมจำนวน 6 ท่าน และปรับปรุงแก้ไขเกมให้สมบูรณ์ • ทดสอบเกมโดยนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 • สอบถามความพึงพอใจของเกมจากนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6
Results and discussion หน้าจอหลักของโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานด้านคุณภาพอากาศความรู้พื้นฐานด้านคุณภาพอากาศ • แหล่งกำเนิดมลพิษ • ชนิดของมลพิษทางอากาศ • ปัจจัยที่มีผลต่อการกิดมลพิษทางอากาศ • การป้องกันและแก้ไขปัญมลพิษทางอากาศ • ลักษณะเมืองน่าอยู่
เกมออกแแบบเมืองน่าอยู่ • ออกแบบให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับมลพิษอากาศ • การจัดวางสิ่งต่างๆ เข้าไปในเมืองที่เด็กออกแบบด้วยตัวเอง • แสดงข้อมูลมลพิษทางอากาศทันที • การปรับปรุงแก้ไขปัญหาที่ก่อให้เกิดมลพิษในเมืองนั้น • แสดงภาพเมืองน่าอยู่ในฝันของเด็กๆ
การเล่นเกม • ปุ่มเลือกวัตถุ หรือสิ่งปลูกสร้าง ที่จะเข้าไปในเมือง มีปุ่มซ้าย-ขวา เพื่อเลือกรูปแบบของวัตถที่จอยู่ในเมือง ประกอบด้วย • บ้าน • ถนน • รถ • อาคารสำนักงาน • โรงงาน ยานพาหนะ • ต้นไม้ และ • พื้นที่ว่างเปล่าใช้สำหรับลบสิ่งปลูกสร้างที่ไม่ต้องการออกจากเมือง
แบบทดสอบ • สุ่มเอาจากคำถามมากกว่า 20 ข้อ เหลือเพียง 10 ข้อ และ • สลับคำตอบที่เป็นตัวเลือกในแต่ละข้อ • เพราะฉะนั้นในการตอบคำถามในแต่ละครั้ง ถึงแม้ว่าจะเป็นคำถามเดียวกัน แต่คำตอบอาจมีการเรียงสลับกันก็ได้ • โดยที่คำถามจะมีเป็นข้อย่อยให้เลือก ถ้าตอบถูกก็จะปรากฏเครื่องหมาย
Conclusion and recommendation • ผลการทดสอบเกมโดยนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 จำนวน 40 คน • การแข่งขันคนละ 1 ชั่วโมง • ผลสอบถามความพึงพอใจของเกม • ร้อยละ 96.5 มีความพึงพอใจต่อเกมเนื่องจากวิธีการเล่นง่าย • ร้อยละ 91.7 คิดว่าช่วยสร้างจินตนาการเมืองน่าอยู่ของตนเอง • ร้อยละ 90.1 คิดว่าช่วยทำให้เข้าใจแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ • ร้อยละ 89.3 คิดว่าช่วยทำให้เข้าใจวิธีการลดมลพิษ และ • ร้อยละ 90.1 คิดว่าช่วยกระตุ้นให้เด็กต้องการเรียนรู้มากขึ้น • โดยรวมมีความพึงพอใจในการเล่นเกมอยู่ในระดับมาก (X =2.94 คะแนนเต็ม 3)
Conclusion and recommendation • สามารถสร้างจินตนาการเมืองน่าอยู่ของตนเองได้ • เข้าใจแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ • เข้าใจวิธีการลดมลพิษ และ • ช่วยกระตุ้นให้เด็กต้องการเรียนรู้ ถือว่าเป็นเกมคอมพิวเตอร์ที่สร้างสรรค์ • ช่วยกันพัฒนาให้มากขึ้น เพื่อทดแทนเกมรุนแรงต่างๆ ที่มีอยู่มากมาย
Acknowledgement • งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจาก • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผู้สนับสนุน • อาจารย์ สุรัตน์ เลิศล้ำ ในการจัดทำสื่อความรู้ • คุณ วัชรพงศ์ ศรีหนองห้าง ในการออกแบบรูปแบบเกม