1 / 45

กลยุทธ์การบริหารการเปลี่ยนแปลง ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติไทย

กลยุทธ์การบริหารการเปลี่ยนแปลง ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติไทย. กรมควบคุมโรค 14 กุมภาพันธ์ 2548. ธนิตสรณ์ จิระพรชัย และคณะ ศูนย์นวัตกรรมระบบ สำนักวิจัยและบริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. S trategic P lan & B lueprint for C hange. หั วข้อชวนคุย. What. Why.

talmai
Download Presentation

กลยุทธ์การบริหารการเปลี่ยนแปลง ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลยุทธ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติไทยกลยุทธ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติไทย กรมควบคุมโรค14 กุมภาพันธ์ 2548 ธนิตสรณ์ จิระพรชัย และคณะ ศูนย์นวัตกรรมระบบ สำนักวิจัยและบริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  2. StrategicPlan & Blueprint for Change หัวข้อชวนคุย What Why How to Relation

  3. องค์กร องค์กร GlobaltoLocal

  4. เหตุผลความจำเป็นของการพัฒนาองค์กรเหตุผลความจำเป็นของการพัฒนาองค์กร It is not the strongest species that survive, Nor the most intelligence, But the one most responsive to change. Charles Darwin :

  5. เหตุผลความจำเป็นของการพัฒนาองค์กรเหตุผลความจำเป็นของการพัฒนาองค์กร Business is going to change more in the next ten years than it has in the last fifty. Bill Gates :

  6. รู้ก่อน ได้เปรียบ The Power shift ค.ศ. 1300 คลื่นลูกที่หนึ่ง “ปฏิวัติเกษตรกรรม” สร้างความมั่งคั่ง ค.ศ. 1800 คลื่นลูกที่สอง “ปฏิวัติอุตสาหกรรม” สร้างความมั่งคั่ง ค.ศ. 1965คลื่นลูกที่สาม “ปฏิวัติสารสนเทศ” องค์ความรู้ สร้างความมั่งคั่ง ค.ศ. 2004 ยุคที่แปด ตามศาสตร์ “ฮวงจุ้ย” ตะวันออกจะรุ่งเรืองต่อเนื่อง 20 ปี

  7. หลากหลายแนวคิดของผู้บริหาร กับคำศัพท์ที่คุ้นเคย • สังคมจะเข้าสู่ยุค Knowledge Society, Learning Society • เศรษฐกิจเข้าสู่ยุค Knowledge Based Economy, Digital Economy, Molecular Economy • แนวโน้มเทคโนโลยีที่มีบทบาทต่อชีวิตประจำวัน • เทคโนโลยีเพื่อระบบการดำเนินชีวิต (Living Systems) • เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) • พลังงาน (Energy) • ด้านคุณภาพของสิ่งแวดล้อม (Environmental Quality) • เทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร (Agriculture and Food Technology) • ด้านวัสดุ (Materials) • ด้านการขนส่ง (Transportation) • เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) แนวโน้มของโลกจะเปลี่ยนไป

  8. หลากหลายแนวคิดของผู้บริหาร กับคำศัพท์ที่คุ้นเคย • การวางแผนกลยุทธ์องค์การจะมองระยะยาว • การจัดโครงสร้างองค์การจะเป็นแนวราบและเป็นเครือข่าย(Flat Organization & Networking) • การกระจายอำนาจตัดสินใจสู่ผู้ปฏิบัติจะมากขึ้น (Empowerment) • องค์กรช่วยเหลือตัวเองมากขึ้น รัฐจะช่วยน้อยลง (Self-sustainable) • ประชาคมจะมีส่วนร่วมมากขึ้น (Participation) • การใช้ความรู้เชิงสหวิทยาการมีความจำเป็นมากขึ้น • การแก้ปัญหาจะต้องมองภาพที่เป็นลักษณะองค์รวม แนวทางองค์กรจะเปลี่ยนแปลง

  9. Thailand SWOT Analysis อุปสรรค โอกาส • ช่องว่างทางความรู้ ทั้งในและต่างประเทศ • การว่างงานในภาคอุตสาหกรรม • การเปิดการค้าเสรี • แหล่งยาเสพติด • บ่อนพนัน • ปัญหาแรงงานต่างด้าว • การตื่นตัวเรื่องสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ • ตลาดขยายตัวในประเทศที่กำลังพัฒนา • โอกาสเจาะตลาดสินค้าและบริการสำหรับสินค้าสุขภาพ • FTA (Free Trade Agreement)

  10. Thailand SWOT Analysis จุดอ่อน จุดแข็ง 1.ไม่มีการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ในระยะยาว 2.ขาดระบบการจัดการที่ดี 3.แก้ปัญหาบ้านเมืองแบบเฉพาะหน้า 4.ภาครัฐอ่อนแอกว่าเอกชน 5.ความยากไร้ของสังคมฐานราก 6.โอกาสทางการศึกษา 7.ขาดระเบียบ ไร้วินัย 8.การเข้าถึงเทคโนโลยีต่ำ 9.การคอรัปชั่น 10.ระบบราชการไม่เต็มประสิทธิภาพ 11.งานวิจัย/บริหารจัดการไม่สร้างมูลค่า 12.ธุรกิจใต้ดินและผู้มีอิทธิพล 1. เอกลักษณ์/วัฒนธรรมประเพณี 2. ภูมิประเทศสวยงาม 3.ไม่มีสงคราม 4. มีใจรักบริการ 5. มีความหลากหลายทางชีวภาพ 6.โครงสร้างพื้นฐานมีความสมบูรณ์ 7. ประชากรอยู่ในวัยทำงาน 8. ค่าครองชีพต่ำ

  11. ปัจจัยแวดล้อมบ้านเมืองเราปัจจัยแวดล้อมบ้านเมืองเรา การค้าเสรี FTA การรุกคืบทางวัฒนธรรม ความเสียเปรียบ ทางเทคโนโลยี ทุนนิยมตะวันตก

  12. *PRELIMINARY VC Funds ปรับบทบาทสถาบันเฉพาะทาง กองทุนนวัตกรรม Incubator แปรรูปรัฐวิสาหกิจ อาหาร แปลงสินทรัพย์เป็นทุน VC Funds Software Fashion City ปรับปรุงโครงสร้างกฎหมาย พักชำระหนี้เกษตรกร IPR Intellectual Property Rights สนามบิน ปรับปรุงโครงสร้างภาษี ธนาคารประชาชน รถยนต์ สร้างโอกาสโดยการสร้างทุนให้คนจน สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม ผู้ว่า CEO ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน กองทุนหมู่บ้าน ท่องเที่ยว ปรับปรุงโครงสร้างและบริหารจัดการ ลดปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ สนับสนุนอุตสาหกรรมทีมีศักยภาพ 30 บาทรักษาทุกโรค ลดรายจ่ายของคนจน ปฏิรูประบบราชการ FTA สินค้าเอื้ออาทร เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ASEAN สร้างตลาดสร้างพันธมิตร เพิ่มรายได้โดยส่งเสริมภาคเศรษฐกิจที่คนจนพึ่งพิง OTOP Asian Bond 30 บาทรักษาทุกโรค ปรับปรุงระบบการศึกษา ปราบปรามยาเสพติด พัฒนาคุณภาพชีวิตและทุนสังคม สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ The Best and The Brightest ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่น่าอยู่และปลอดภัย ปราบปรามผู้มีอิทธิพล Computer เอื้ออาทร จัดระเบียบแรงงานต่างด้าว อนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย อนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม ห้องสมุด จัดระเบียบสังคม บ้านเอื้ออาทร การลดมลพิษ ไทยสากล การประหยัดพลังงาน Mind map ของฯพณฯทักษิณในการพัฒนาประเทศ* PM’s mind mapping: การพัฒนาประเทศให้มั่งคั่งอย่างยั่งยืน Source: NESDB’s analysis

  13. +2 การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศไทย 5 ด้าน • อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ธุรกิจนำเที่ยวมัคคุเทศก์ ธุรกิจร้านอาหาร ธุรกิจขายสินค้าและของที่ระลึก รวมทั้งจัดตั้งสถาบันการท่องเที่ยวระดับนานาชาติ • อุตสาหกรรมยานยนต์ มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางในการผลิตยานยนต์ • อุตสาหกรรมแฟชั่น อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ และอุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑ์หนัง • อุตสาหกรรมอาหาร • อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ + อุตสาหกรรมเหล็ก และอุตสาหกรรมปิโตรเคมี แหล่งที่มาของข้อมูล ทีมงานไทย: สถาบันพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ ทีมงานของ Prof.Michael E. Porter มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา

  14. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546 – 2550) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การรื้อปรับระบบการเงินและการงบประมาณ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย ยุทธศาสตร์ที่ 7 การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

  15. Re-build Re-structure Re-think,Re-train Synergy Quality Flexibility Efficiency Effectiveness Re-process Re-tools แนวคิดการบริหารองค์กรในยุคของการเปลี่ยนแปลง Specific Measurable Attainable Rational Timely Charter Vision/Mission Objective/Strategy/Policy Quality Assurance Culture/ Paradigm/ HR Structure Shared Vision/Value Process & Systems Tools Productivity Improvement KMUTT’s Home Model แบบจำลองรูปบ้าน ในการปฏิรูปองค์กร Monitoring & Evaluation System Continuous Improvement

  16. การวางแผนเพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศการวางแผนเพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ How คน สู่ความเป็นเลิศ ระบบ สู่ความเป็นเลิศ สั่งสมคนดี ส่งเสริมคนเก่ง ความเป็นมืออาชีพ รู้คนคือ มีคุณธรรม นำชีวิต รู้ถูกผิด รู้ชอบ รู้ศักดิ์ศรี รู้วินัย ใจสัตย์ซื่อ ถือความดี รู้วิถี มีจรรยา นำพาตน รู้งานคือ มืออาชีพ ในทุกสิ่ง รู้ให้จริง รู้แก้กัน ทันเหตุผล รู้คุณภาพรู้มาตรฐานงานสากล รู้ผ่อนปรนรู้จังหวะกะแนววาง องค์กร สู่ความเป็นเลิศ การบริหารจัดการที่ดี

  17. ครงสร้างองค์กร กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนา การแพทย์ กลุ่มภารกิจ ด้านสนับสนุน งานบริการสุขภาพ กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนา การสาธารณสุข สำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข 1. กรมการแพทย์ 2. กรมพัฒนาการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก 3. กรมสุขภาพจิต 1. กรมควบคุมโรค 2. กรมอนามัย 1. กรมสนับสนุน งานบริการสุขภาพ 2. กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ 3. สนง.คณะกรรมการ อาหารและยา 1. ส่วนกลาง - สำนักบริหารกลาง - ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ - สถาบันพระบรมราชชนก - สำนักตรวจและประเมินผล - สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ 2. ส่วนภูมิภาค - สนง.สาธารณสุขจังหวัด - สนง.สาธารณสุขอำเภอ

  18. วิ สัยทัศน์ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข เป็นองค์กรหลัก ในการพัฒนาระบบสุขภาพ เพื่อคนไทยมีสุขภาพที่ดี นำสู่การเป็น “เมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand)”

  19. พั นธกิจ กระทรวงสาธารณสุข ประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนพัฒนาระบบ กลไกต่าง ๆ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแก่คนไทย

  20. ยุ เ ทธศาสตร์ ป้าประสงค์ กระทรวงสาธารณสุข คนไทยแข็งแรง ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนลดลง

  21. ยุ เ ทธศาสตร์ ป้าประสงค์ และ ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนลดลง ยุทธศาสตร์ เสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค เสริมสร้างการมีส่วนร่วม ในการให้ความคุ้มครองดูแลสุขภาพ และจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อ สุขภาพ สร้างหลักประกันการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพและเพิ่มศักยภาพสถานบริการ • ประชาชนทุกคนมีหลักประกันสุขภาพ • ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพกายและจิตที่เหมาะสม • อัตราการป่วยจากโรคที่เป็นสาเหตุจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมลดลง • ประชาชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย • ผู้เสพและผู้ติดยาเสพติดได้รับการบำบัดรักษา ฟื้นฟู • ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพได้มาตรฐาน

  22. ปัญหาสุขภาพที่สำคัญคืออะไรปัญหาสุขภาพที่สำคัญคืออะไร สิ่งแวดล้อม สุขภาพจิต พฤติกรรม โรคติดต่อ

  23. เตรียมองค์กรอย่างไรให้พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง

  24. Balanced Scorecard Model แนวคิดด้านผู้รับบริการ (Customer Perspective) มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ปัจจัยที่จะทำให้มีความสำเร็จด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายนอกองค์กร เช่น รัฐบาล ลูกค้า ผู้รับบริการ แนวคิดด้านกระบวนการ ภายในองค์กร (Internal-Business-Process Perspective) มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติ แนวคิดด้านการเงิน (Financial Perspective) มิติด้านประสิทธิผล ปัจจัยที่ทำให้ประสบความสำเร็จ ด้านความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าของเงินและผลิตภาพ ปัจจัยสำคัญที่จะมีผล ทำให้องค์กรมีการปฏิบัติงาน ที่มีประสิทธิภาพ และมีการให้บริการ ใหม่ ๆ อยู่เสมอ เช่น แนวทางและ กระบวนการทำงาน โครงสร้างองค์กร รวมถึงการบริหารทรัพยากรบุคคล แนวคิดด้านการเติบโต และการเรียนรู้ (Learning and Growth Perspective) มิติด้านการพัฒนาองค์กร ปัจจัยที่ทำให้องค์กรยังคงความสามารถในการเปลี่ยนแปลง พัฒนา และ อยู่รอดได้ เช่น พัฒนา ปรับปรุงและปฏิบัติอย่างมีกลยุทธ์ และมีความคิดริเริ่ม (Source: Kaplan and Norton)

  25. 60% 10% 10% 20%

  26. คนไทยแข็งแรง ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนลดลง เสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค เสริมสร้างการมีส่วนร่วม ในการให้ความคุ้มครองดูแลสุขภาพ และจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อ สุขภาพ สร้างหลักประกันการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพและเพิ่มศักยภาพสถานบริการ ท่านจะสร้างแผนการบริหารเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร แผนพัฒนาคุณภาพ แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ แผนเพิ่มขีดสมรรถนะ

  27. บริการที่ สนองนโยบายประเทศ และเป็นไปตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ มิติด้านประสิทธิผล (Financial Perspective) ยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ (Customer Perspective) การสร้าง ความพึงพอใจให้ ผู้รับบริการ ประชาชน ได้รับบริการ ที่เป็นธรรม เสมอภาค การปรับปรุง กระบวนการทำงาน ให้มีประสิทธิภาพสูง การพัฒนา งานบริการ หลากหลายรูปแบบ มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติ (Internal-Business-Process Perspective) การพัฒนาระบบ บริหารงานบุคคล ที่เอื้อต่อการรักษา คนเก่ง คนดี การปรับปรุง โครงสร้างการบริหาร ให้เอื้อต่อการทำงาน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง บุคลากรที่มี ความสามารถและ ได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง พัฒนาองค์กรที่มีระบบ การบริหารจัดการที่ดี สร้างองค์ความรู้ ผลงานวิจัย สารสนเทศ และนวัตกรรม เพื่อสนับสนุน ภารกิจ มิติด้านการพัฒนาองค์กร (Learning and Growth Perspective)

  28. ยุทธศาสตร์ cluster เป้าหมายผลผลิต ตามเอกสาร งบประมาณ มิติด้านประสิทธิผล (Financial Perspective) การปรับปรุง การจัดการ เพื่อสนับสนุน จังหวัด/ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ สาธารณสุข ยุทธศาสตร์ กรม คนไทยแข็งแรง ความพึงพอใจ ผู้รับบริการ มาตรการป้องกันและ ปราบปรามทุจริต มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ (Customer Perspective) มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติ (Internal-Business-Process Perspective) ลดค่าใช้จ่าย ลดระยะเวลา การให้บริการ คุณภาพการจัดการ สารสนเทศ การบริหาร การเปลี่ยนแปลง มิติด้านการพัฒนาองค์กร (Learning and Growth Perspective) แผนปฏิบัติการ การพัฒนาระบบบริหาร ความรู้ภายในองค์กร

  29. ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน (Blueprint for Change) • ด้านโครงสร้าง (Structure) • … • … • … • ด้านกระบวนการทำงาน (Process) • … • … • …

  30. ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน (Blueprint for Change) • ด้านบุคลากร (People) • … • … • … • ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) • … • … • …

  31. ข้อเสนอสิ่งจูงใจ • … • … • … • ....

  32. Re-build Re-structure Re-think,Re-train Synergy Quality Flexibility Efficiency Effectiveness Re-process Re-tools แนวคิดการบริหารองค์กรในยุคของการเปลี่ยนแปลง Specific Measurable Attainable Rational Timely Charter Vision/Mission Objective/Strategy/Policy Quality Assurance Culture/ Paradigm/ HR Structure Shared Vision/Value Process & Systems Tools Productivity Improvement KMUTT’s Home Model แบบจำลองรูปบ้าน ในการปฏิรูปองค์กร Monitoring & Evaluation System Continuous Improvement

  33. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี King Mongkut’s University of Technology Thonburi ธนิตสรณ์ จิระพรชัย Thanitsorn Chirapornchai ศูนย์นวัตกรรมระบบ Center of Systems Innovations 91 Suksawad 48, Thung Kharu, Bangmod, Bangkok 10140, Thailand Homepage : http://www.kmutt.ac.th Tel. 0-2470-8455-7 Fax. 0-2470-8038 Mobile : 0-1808-6820 E-mail Address : thanitsorn.chi@kmutt.ac.th

  34. วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์/นโยบาย แนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กร มุ่งธำรง ปณิธาน ในการสร้างบัณฑิต ที่เก่งและดี KMUTT Strategic Plan SMART มุ่งสร้าง ชื่อเสียงและ เกียรติภูมิ ให้เป็นที่ภูมิใจ ของประชาคม มุ่งสู่ ความเป็นเลิศ ในเทคโนโลยี และการวิจัย มุ่งก้าว ไปสู่การเป็น มหาวิทยาลัย ชั้นนำใน ระดับโลก มุ่งมั่น เป็นมหาวิทยาลัย ที่ใฝ่เรียนรู้ The Best & The Brightest วิสัยทัศน์ 5 มุ่ง Science Strengthening Management Strengthening พัฒนาการเรียนการสอนเพื่อสู่ ความเป็น เลิศ การสร้างและ ปรับวัฒนธรรม กระบวนทัศน์ ของประชากร มจธ. Learning Organization เป้าหมาย 6+1 Flagships e University Research University พัฒนา งานวิจัยและ บริการวิชาการ ปรับปรุง พัฒนาระบบ การบริหาร จัดการ Revenue Driven & Cost Conscious กลยุทธ์ 7 ด้าน พัฒนา กลุ่มเครือข่าย และพันธมิตร ปรับโครงสร้าง องค์กรให้บรรลุ ถึงวิสัยทัศน์ของ มหาวิทยาลัย พัฒนาระบบ การสื่อสารและ เทคโนโลยี สารสนเทศ

  35. ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัย แผนงาน ผลผลิต ตัวชี้วัด อธิการบดี และผู้บริหาร งบประมาณ คณะ/สำนัก แผนงาน ผลผลิต ตัวชี้วัด คณบดี และ กรรมการคณะ งบประมาณ ภาควิชา/ หน่วยงาน แผนงาน ผลผลิต ตัวชี้วัด หัวหน้าภาค และอาจารย์ การดำเนินงานเป็นไปตามโครงสร้างแบบเดิม หน่วยงาน การดำเนินงาน การประเมินผล

  36. วิสัยทัศน์ 5 มุ่ง เป้าหมาย 6+1 Flagships แผนกลยุทธ์ 7 ด้าน เป้าหมาย ตัวชี้วัด งบประมาณ กลุ่มปฏิบัติการ เฉพาะกิจ หน่วยงาน แผนงาน แนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กร การดำเนินงานมุ่งเป้าตามวิสัยทัศน์ อธิการบดี มหาวิทยาลัย

  37. แนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กรแนวทางการปฏิรูปการบริหารองค์กร • การสร้างหน่วยกลยุทธ์ เพื่อให้องค์กรสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง เป็นหน่วยงานมืออาชีพที่มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานสูง(High Performance Organization) • การจัดตั้ง Strategic Cluster • ศูนย์สารสนเทศเชิงยุทธศาสตร์ • ศูนย์นวัตกรรมนโยบาย (PI-Policies Innovations) • ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัย (UR-University Research) • ศูนย์นวัตกรรมระบบ (SI-Systems Innovations)

  38. External Information ประชาคม Corporate Memory Strategic Plan Learning Organization ภาพแสดงลักษณะโครงสร้างและการสื่อสาร ภายในกลุ่ม 6+1 flagships Science Strengthening Management Strengthening KMUTT Knowledge Portal Communication Team The Best & The Brightest e University Research University Revenue Driven & Cost Conscious

  39. กลุ่มสนับสนุนผู้บริหารกลุ่มสนับสนุนผู้บริหาร กลุ่มจัดหารายได้ ศูนย์-สำนัก ต่างๆ คณะผู้บริหาร KMUTT Knowledge Portal สภามหาวิทยาลัย กลุ่มปฏิบัติการเฉพาะกิจ 6+1 Flagships กลุ่มวิชาการ คณะต่างๆ ภาพแสดงลักษณะโครงสร้างและการสื่อสาร ภายใน มจธ. กลุ่มสนับสนุนวิชาการ ศูนย์-สำนักต่างๆ

  40. External Information ประชาคม Corporate Memory Strategic Plan ภาพแสดงลักษณะโครงสร้างและการสื่อสาร กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ Database กลุ่มประสานงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุน งานบริการสุขภาพ

  41. วัฒนธรรมการเสวนา เสวนาสัญจร เสวนาสัญจร โดยจะเยี่ยมเยียนตามภาควิชาและหน่วยงานต่างๆ ในฐานะตัวกลางในการประสานให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันภายในมหาวิทยาลัย เสวนาสัญจร โดยการประชุม change agent ทุก 2 เดือน เพื่อถ่ายทอดแนวคิดสร้างความเข้าใจร่วมกัน เช่น การกระจายแนวคิด 6+1 flagships กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  42. หลักการสร้างคนรุ่นใหม่ให้สามารถ ต้องรวมปราชญ์รวมศาสตร์ที่หลากหลายหลักการสร้างคนรุ่นใหม่ให้สามารถ ต้องรวมปราชญ์รวมศาสตร์ที่หลากหลาย ทำงานร่วมรวมพลังทั้งใจกาย เปรียบดังควายไถนาอยู่เคียงคู่กัน ควายหนึ่งคือควายแรงเป็นควายรุ่น ช่วยดันดุนหนุนแรงอย่างแข็งขัน อุตสาหะมานะสร้างสารพัน ร่วมผลักดันพร้อมเรียนรู้คู่องค์กร อีกควายหรือคือควายเฒ่าเรียกควายรู้ เปรียบดั่งครูผู้ชี้นำคำสั่งสอน ประคับช่วยประคองให้ไม่สั่นคลอน ดุจภัสสรส่องสว่างหนทางไกล จึงต้องรวมพลังคู่มุ่งสู่หนึ่ง สร้างควายซึ่งรู้คู่แรงแปลงพันธ์ใหม่ เติมความรู้คู่หลักคิดเสริมจิตใจควายพันธ์ไทยก้าวไกลในสากล ธนิตสรณ์ จิระพรชัย พระจอมเกล้าธนบุรี วัฒนธรรมควายคู่-ควายรู้คู่ควายแรง

More Related