340 likes | 748 Views
การพัฒนาชุมชน องค์กรชุมชน การสร้างเครือข่าย และการดำเนินการให้ประชาชนมีส่วนร่วมตามนโยบาย และ ยุทธ ศาสตร์ของกรมการพัฒนาชุมชน. โดย นางสาววรรณา รัศมิทัต หนก.งานพัฒนาองค์การชุมชนแลเครือข่ายองค์การชุมชน สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย.
E N D
การพัฒนาชุมชน องค์กรชุมชน การสร้างเครือข่าย และการดำเนินการให้ประชาชนมีส่วนร่วมตามนโยบาย และยุทธศาสตร์ของกรมการพัฒนาชุมชน โดย นางสาววรรณา รัศมิทัต หนก.งานพัฒนาองค์การชุมชนแลเครือข่ายองค์การชุมชน สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
หน้าที่กรมการพัฒนาชุมชนตามกฏหมายหน้าที่กรมการพัฒนาชุมชนตามกฏหมาย 1 กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการและแนวทางการพัฒนาชุมชนฯ จัดทำและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชนฯ 2 3 พัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ฯ สนับสนุนและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 4 5 ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยพัฒนาและสร้างองค์ความรู้ 6 ฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 7 ปฏิบัติหน้าที่อื่นใด ตามกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมฯ
ยึดหลักความมีศักดิ์ศรีและศักยภาพของประชาชน ยึดหลักการพึ่งตนเองของประชาชน ยึดหลักประชาธิปไตย ยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน หลักการดำเนินงานพัฒนาชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาทุนชุมชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้เข้มแข็ง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การเสริมสร้างขีดสมรรถนะองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3การเพิ่มขีดความสามารถของผู้นำชุมชน ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 5การส่งเสริมการจัดการความรู้ของชุมชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การขับเคลื่อนแผนชุมชน วิสัยทัศน์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2551-2554 • กรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน พันธกิจ • สร้างพลังชุมชน • สร้างระบบการจัดการความรู้ • สร้างระบบการบริหารจัดการชุมชน • ชุมชนเข้มแข็ง • ประชาชนพึ่งตนเองได้ • ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข
การพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน เครือข่าย
1 2 3 แผนชุมชน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน การพัฒนาระบบการบริหารจัดการชุมชน
เครือข่าย กลุ่มของคนหรือองค์กร ที่สมัครใจแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูลระหว่างกัน หรือทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีการจัดรูปหรือจัดระเบียบโครงสร้างที่คน หรือองค์กรสมาชิกยังคงมีความเป็นอิสระ
การสร้างเครือข่าย การทำให้มีการติดต่อและการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และการร่วมมือกันด้วยความสมัครใจ
ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ทักษะ ความรู้ ประสบการณ์ เครื่องมือ และสื่อ • ช่วยลดการทำงานและการใช้ทรัพยากรซ้อน • เกิดความเข้าใจกันมากขึ้น นำไปสู่การทำงานร่วมกัน เพื่อประโยชน์ของทุกฝ่าย • ให้ความต้องการของประชาชนได้รับการสนองจากรัฐ • ช่วยชี้ให้เห็นปัญหาและประเด็นการพัฒนาที่ซับซ้อนและท่วมท้นในหมู่บ้าน • ช่วยเชื่อมหน่วยงานวิชาการและแหล่งทุนกับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ • ทำให้คนและองค์กรได้รับความช่วยเหลือจากเพื่อนได้รับกำลังใจ การจูงใจ และการยอมรับ ประโยชน์
โครงสร้างการบริหาร ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช) คณะกรรมการกลาง ศอช.------------------------------------------------------ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธาน- อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองประธาน- หัวหน้าส่วนราชการฯ มท. (12 คน)- ผู้แทน ศอช. (5 คน)- ผู้แทนเครือข่ายฯ (5 คน)- ผู้ทรงคุณวุฒิ (5 คน)- นายสุชาติ สุวรณ (รอง อพช.) กรรมการ และเลขานุการ- ผอ.สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรรมการและ ผช. เลขานุการ หน้าที่ (คณะกรรมการกลาง): ----------------------1.กำหนดนโยบาย ควบคุมกิจการ2.ออกระเบียบ ข้อบังคับ3.แต่งตั้งอนุกรรมการ เจ้าหน้าที่4.จัดให้มีการประเมินความก้าวหน้า ทุกระดับ5.จัดทำฐานข้อมูล6.ปฏิบัติการอื่นตามที่ปลัดกระทรวง มอบหมาย สำนักงานอำนวยการ คณะกรรมการกลาง ศอช. -------------------------------หน้าที่ :1. ปฏิบัติงานด้านวิชาการและธุรการ2. สนับสนุนการจัดประชุม ที่ตั้ง : กรมการพัฒนาชุมชนสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน หน้าที่ :(คณะทำงานส่งเสริม)1. สนับสนุนภารกิจ ศอช.2. สริมสร้างความเข้มแข็ง / พัฒนาทักษะ3. ให้คำปรึกษาด้านวิชาการ กฎหมาย ระเบียบ หน้าที่ (สำนักงานกลาง ศอช.) ---------------------1. ศูนย์กลางแลกเปลี่ยนเรียนรู้2 .พัฒนาความรู้ / สวัสดิการ3 .อื่นๆ ตามที่กรรมการมอบหมาย สำนักงานกลาง ศอช.--------------------------------------------ที่ตั้ง กรมการพัฒนาชุมชน
โครงสร้างการบริหาร ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช) ภารกิจ (คณะกรรมการบริหาร ศอช.):1.สนับสนุนกระบวนการฐานข้อมูล( )2.บูรณาการแผนชุมชน ตำบล ประสานแผนท้องถิ่นและแผนพัฒนาจังหวัด3.ประสานระหว่างองค์การชุมชน4.ประสาน/สนับสนุนประชาธิปไตย( )5.สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน.ตามหลักธรรมาภิบาล ( )6.ประสาน/สนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียง ( ) 7.สนับสนุนให้มีกองทุน/สวัสดิการในชุมชน8.ส่งเสริม/ประสานให้มีการจัดการความรู้9.สนับสนุนและส่งเสริมการปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ สร้างภูมิคุ้มกันของสังคมฯ( ) 10.ประสาน/ ส่งเสริมการป้องกันยาเสพติด ( )11.ประสาน/สนับสนุนการมีส่วนร่วมอนุรักษ์บำรุงรักษาและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ( )12.ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ13.ส่งเสริมกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม คณะกรรมการบริหาร ศอช.จ. จำนวน 9-25 คนผู้แทน ศอช.อ. ผู้แทนองค์การเครือข่ายพัฒนาชุมชนระดับจังหวัด ผู้แทนเครือข่ายองค์การชุมชนอื่นระดับจังหวัด และผู้ทรงคุณวุฒิ คณะทำงานส่งเสริม ศอช.จ. ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือผู้ทรงคุณวุฒิจนท.พช. เป็นเลขานุการ คณะกรรมการบริหาร ศอช.อ. จำนวน 9-25 คนผู้แทน ศอช.ต. ทุกตำบลในอำเภอ ผู้แทนเครือข่ายองค์การชุมชนระดับอำเภอ และผู้ทรงคุณวุฒิ คณะทำงานส่งเสริม ศอช.ฮ. ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือผู้ทรงคุณวุฒิจนท.พช. เป็นเลขานุการ คณะกรรมการบริหาร ศอช.ต. จำนวน 9-25 คนผู้แทนองค์การชุมชน ผู้นำชุมชน / กลุ่มอื่นๆหรือผู้แทนองค์การชุมชนอื่นในตำบลนั้น คณะทำงานส่งเสริม ศอช.ต. นายก อบต. หรือผู้แทนกำนัน ผญบ. และข้าราชการจนท.พช. เป็นเลขานุการ
ชุมชนในฝัน/วาระแห่งชาติชุมชนในฝัน/วาระแห่งชาติ