1 / 67

ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์

ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์. Computer Hardware. Hardware. Mainboard Central Processing Unit : CPU RAM Hard Disk Power Supply VGA

tameka
Download Presentation

ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ Computer Hardware

  2. Hardware • Mainboard • Central Processing Unit: CPU • RAM • Hard Disk • Power Supply • VGA คือ ส่วนของตัวเครื่องที่เราเห็น และจับต้องได้ เช่น จอภาพ ตัวเครื่อง เครื่องพิมพ์ เป็นต้น แต่ที่เป็นเพียงเฉพาะองค์ประกอบภายนอกที่เราเห็นกันเท่านั้น ยังมีองค์ประกอบภายในของตัวเครื่อง ซึ่งเป็นส่วนสำคัญ ที่จะบอกว่าเครื่อง PC นี้มีความสามารถอย่างไรบ้าง ส่วนประกอบโดยทั่วๆ ไป ภายในตัวเครื่องมีดังนี้

  3. MainBoardหรือ Master Board • เป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ เป็นแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ จะติดตั้งอยู่ภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ส่วนประกอบหลักของเมนบอร์ด ประกอบด้วย

  4. MainBoardหรือ Master Board (ต่อ)

  5. ส่วนประกอบของMainboard • พอร์ต (port) • สล๊อตหน่วยความจำ (memory slot) • ชิปเซต (chipset) • ช่องต่ออุปกรณ์ IDE, Serial SATA • โปรเซสเซอร์ ซ็อกเกต (processor socket) • จัมเปอร์ (jumper) • สล็อตการ์ดขยาย (expansion slot) • ชิปไบออส (bios ย่อมาจาก basic imput/output system) • ชิปซีมอส (cmos ย่อมาจาก complementary metal oxide semiconductor)

  6. พอร์ต (port) • เป็นจุดที่ให้เมนบอร์ดติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์ภายนอกได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เม้าส์ เป็นต้น • Parallel Port สำหรับต่ออุปกรณ์ที่มีสายต่อเป็นแบบ Parallel Interface เช่น Printer Scanner • Serial Port สำหรับต่ออุปกรณ์ที่มีสายต่อเป็นแบบ Serial Interface เช่น External Modem สายต่อเชื่อมระหว่างเครื่อง PC เป็นต้น • USB (Universal Serial Bus) เป็น Port สำหรับต่ออุปกรณ์ภายนอกที่มีสาย Interface แบบ USB เช่น Scanner, Modem Printer เป็นต้น • PS/2 Port เป็น Port เฉพาะสำหรับต่อ Mouse และ Key Board ที่มีสาย Interface แบบ PS/2

  7. พอร์ต (port)

  8. สล๊อตหน่วยความจำ (Memory slot) • เป็นซ็อกเก็ตบนเมนบอร์ดสำหรับเสียบแผงหน่วยความจำหลักของเครื่อง • RAM Slot เป็นที่เฉพาะสำหรับใส่ RAM ปัจจุบันแบบ DIMM เป็นที่นิยม จำนวน Slot เป็นตัวบอกว่า Mainboard นี้สามารถขยายขนาด Memory สูงสุดได้เท่าใด DIMM คืออะไรDual in line memory model (DIMM) เป็นโมดูลแบบเดี่ยว (single in line memory model) 2 แถว โดยโมดูลจะมี หน่วยความจำหนึ่งหรือหลายหน่วยความจำ บนแผ่นวงจรขนาดเล็กซึ่งมี pin สำหรับเชื่อมต่อกับแผ่นในบอร์ด การติดตั้งส่วน DIMM สามารถใช้ตัวเดียวได้ DIMM มี connector แบบ 168 pin และสนับสนุนการส่งข้อมูลแบบ 64 บิต แนวโน้มต่อไป DIMM จะเป็นอุปกรณ์มาตรฐานของคอมพิวเตอร์

  9. ชิปเซต (Chipset) • เป็นชุดของชิปที่ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนย้ายข้อมูลบนเมนบอร์ด • เป็นส่วนหนึ่งที่จะกำหนดว่าเมนบอร์ดนี้จะใช้กับซีพียูรุ่นใดได้บ้าง • เป็นตัวบอกว่าจะต่อหน่วยความจำได้สูงสุดเท่าใด

  10. ชิปเซต (Chipset) (ต่อ) • การทำงานของชิปเซตแยกออกเป็นสองส่วน • North Bridge ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ที่ทำงานด้วยความเร็วสูงได้แก่ ซีพียูแรมและการ์ดแสดงผล • South Bridge ทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ความเร็วต่ำได้แก่อุปกรณ์ ฟลอปปีดิสก์ • คีย์บอร์ดเมาส์ฮาร์ดดิสก์

  11. ชิปเซต (Chipset) (ต่อ)

  12. ช่องต่ออุปกรณ์ IDE • ช่องต่ออุปกรณ์ IDE (Integrated Drive Electronic) ใช้เชื่อมต่อเข้ากับ ฮาร์ดดิสก์ และไดว์ซีดี/ดีวีดี • ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 100MB/s

  13. ช่องต่ออุปกรณ์ Serial SATA • ถูกพัฒนาความเร็วในการส่งข้อมูลให้สูงขึ้น จาก IDE • ด้วยการส่งข้อมูลแบบอุนกรม ที่ความเร็ว 150 MB/s

  14. โปรเซสเซอร์ ซ็อกเกต (processor socket) • เป็นที่ติดตั้งซีพียูเข้ากับเมนบอร์ด • ต้องเลือก Socket ติดตั้ง CPU ให้ตรงกับ CPU ที่จะติดตั้ง • เมนบอร์ดแต่ละตัวก็จะมี Socket เพียงชนิดเดียวเท่านั้น

  15. จัมเปอร์ (jumper) • ใช้สำหรับการปรับแต่งการใช้เมนบอร์ด เช่นกำหนดเรื่องความเร็วของซีพียู เป็นต้น ปัจจุบันอุปกรณ์ที่ต่อเข้ากับ mainboard ไม่จำเป็นต้องมีการเซ็ทจัมเปอร์แล้ว แต่จะเป็นการเซ็ทแบบอัตโนมัติให้

  16. สล็อตการ์ดขยาย (expansion slot) • เป็นช่องสำหรับเสียบการ์ดที่ทำหน้าที่ขยายความสามารถของคอมพิวเตอร์

  17. ชิปไบออส BIOS • ย่อมาจาก basic input/output system) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ที่ติดบนเมนบอร์ด

  18. ชิปซีมอส cmos • CMOS ย่อมาจาก "Complementary Metal Oxide Semiconductor" เป็นชิปไอซีที่ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นค่าเฉพาะของแต่ละระบบ เพื่อให้ Bios (ไบออส) นำไปใช้ในการบู๊ตระบบ ข้อมูลที่ถูกเก็บอยู่ใน CMOSเช่น เวลา และวันที่ของระบบ ค่าของฮาร์ดดิสก์ และไดรว์ซีดี/ดีวีดี, การปรับค่าความเร็วในการอ่านเขียนของแรม เป็นต้น เป็นชิปสารกึ่งตัวนำที่ถูกติดตั้งแบบออนบอร์ดมากับเมนบอร์ดเลย เราจะมองไม่เห็นตัวชิปเพราะมันถูกผนวกเข้ากับชิปเซ็ต ชิป CMOSเป็นหน่วยความจำที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้กินไฟน้อย และทำงานได้เร็ว เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีไฟมาเลี้ยงจากแบตเตอร์รี่ทำหน้าที่จ่ายไฟให้กับซีมอส

  19. ชนิดของเมนบอร์ด • เมนบอร์ดที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบันมีหลายรูปแบบแตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะ ขนาดโครงสร้างการทำงานซ็อกเก็ตใส่ซีพียู ภายในเมนบอร์ดประกอบไปด้วยระบบบัส ชิปเซ็ตชิปรอมไบออส แบตเตอรีแบ็คอัพ พอร์ตต่างๆ อุปกรณ์ Onboard และอุปกรณ์เสริมอื่นๆรวมกันแล้วจึงทำให้เมนบอร์ดเป็นศูนย์รวมของอุปกรณ์ต่างๆ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้ตามปกติเมนบอร์ดมีแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ • เมนบอร์ดแบ่งตามโครงสร้างเมนบอร์ดประเภทนี้ได้แบ่งออกเป็นตามลักษณะโครงสร้าง ขนาดและรูปร่าง มาตรฐาน • เมนบอร์ดแบ่งตามช๊อคเก็ตใส่ซีพียูเมนบอร์ดประเภทนี้ได้ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับซีพียูแต่ละรูปแบบเหตุผลซีพียูในปัจจุบันได้ผลิตรูปแบบและโครงสร้างไม่เหมือนกันทำให้ซ๊อกเก็ตใส่ซีพียูจึงไม่เหมือนกัน

  20. เมนบอร์ดแบ่งตามโครงสร้างเมนบอร์ดแบ่งตามโครงสร้าง

  21. เมนบอร์ดแบ่งตามช๊อคเก็ตใส่ซีพียูเมนบอร์ดแบ่งตามช๊อคเก็ตใส่ซีพียู

  22. Socket ของ CPU แบบต่างๆ Socket 370 Intel Socket 775 Intel Socket 478 Intel Socket 754 AMD

  23. Mainboard Socket 370 Intel

  24. Mainboard Socket 775 Intel

  25. Mainboard

  26. Mainboard

  27. Mainboard

  28. Mainboard Socket 478 Intel

  29. Mainboard

  30. Mainboard

  31. ระบบบัส และช่องสำหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ (Bus & Slot) • บัสเป็นทางเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งที่อยู่บนเมนบอร์ดและที่ติดตั้งเพิ่มเข้ามา ตั้งแต่ ซีพียู, หน่วยความจำ, แคช, ฮาร์ดดิสก์, สล็อตต่างๆ และจอภาพ เป็นต้น ดังนั้น ความเร็วและประสิทธิภาพในการทำงานของบัสจึงมีผลอย่างมากกับประสิทธิภาพโดยรวมของคอมพิวเตอร์ระบบบัสที่เหมาะสมจะต้องมีความเร็วเพียงพอที่จะให้อุปกรณ์ต่างๆ รับส่งข้อมูลระหว่างกันได้เต็มความเร็วของอุปกรณ์นั้นๆ เพื่อไม่ให้เป็นตัวถ่วงอุปกรณ์อื่นๆ อันจะทำให้ความเร็วโดยรวมของทั้งเครื่องลดลงโครงสร้างของระบบบัสของเครื่องคอมพิวเตอร์มีความสลับซับซ้อน ทั้งนี้เนื่องจากอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ การ์ดแสดงผล และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ได้ถูกพัฒนาให้มีความเร็วเพิ่มขึ้น จึงทำให้ต้องพัฒนาชิปเซ็ตและระบบบัสต่างๆ ตามไปด้วย

  32. ระบบบัส และช่องสำหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ (Bus & Slot) • โครงสร้างของระบบบัสของเครื่องคอมพิวเตอร์มีความสลับซับซ้อน ทั้งนี้เนื่องจากอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ การ์ดแสดงผล และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ได้ถูกพัฒนาให้มีความเร็วเพิ่มขึ้น จึงทำให้ต้องพัฒนาชิปเซ็ตและระบบบัสต่างๆ ตามไปด้วย

  33. Central Processing Unit: CPU Packaging and Socket

  34. Cartridge • เสียบบน slot • Chip แบบ SECC (Single Edge Connector Cartridge) • Slot 1 242 pins ของ Intel P-II, P-IIIบางรุ่น และ Celeron • Slot A 242 pins ของ AMD Athlonหรือ K7

  35. BGA - Ball Grid Array • chip แบนๆ มีวัตถุทรงกลมนำไฟฟ้าขนาดเล็กเรียงเป็นระเบียบ • ทำหน้าที่เป็นขาของ chip ต้องบัดกรียึดติดจุดสัมผัส • เป็น chip set และ chip หน่วยความจำ

  36. PGA - Pin Grid Array • มีขาจำนวนมากยื่นจากตัว chip • PPGA – Plastic Pin Grid Array • mPGA – Micro Pin Grid Array • FC-PGA – Flip Chip Pin Grid Array

  37. PGA ชนิดต่างๆ • Socket 478 = Celeron II, Celeron D, Pentium 4 ช่วงแรก 0.130micron • Socket 479 = Core Duo, Core 2 Duo 0.065micron • Socket 940 = Athlon 64FX ช่วงแรก และ Opteron • Socket 939 = Sampron, Athlon 64, Athlon 64 FX และ Athlon 64 X2 (Dual Core) • Socket 754 = Athlon 64, Sempron “Paris & Palermo” • Socket 462 (Socket A) = Duron, Athlon XP, Sempron แกน Thoroughbred และ Barton • Socket S1 or Socket 638 = Mobile Athlon 64, Turion 64, Turion 64 X2 (notebook) • Socket AM2 (940) = Sempron (Manila), Athlon 64 (Orleans), Athlon 64 FX (Winsor), Opteron-1xx (Santa Anna)

  38. LGA – Land Grid Array • Intel นำมาใช้กับ CPU P4 Prescott 0.09micron • ลักษณะเป็นแผ่นแบน จุดตัวนำเป็นวงกลมแบนเรียบขนาดเล็ก จำนวนมาก ทำหน้าที่เป็นขาของ chip • ใช้ socket T หรือ LGA775 (775 ขา)

  39. LGA - Land Grid Array • Socket T or LGA775 • Core 2 Extreme Quad-Core (Kentsfield–0.065micron) • Core 2 Quad (Kentsfield–0.065micron) • Core 2 Duo/Extreme (Conroe-0.065micron) • Pentium 4 (Prescott-0.09micron/Cedar Mill-0.065micron) • Celeron D (Prescott-0.09micron) • Pentium 4 Extreme Edition 0.09micron • Pentium D • Pentium Extreme Edition (Dual-Core)

  40. LGA - Land Grid Array • Socket F or LGA1027 = Athlon 64 Quad FX-70/72/74 (Egypt 0.09micron, Opteron model 2xx และ 8xx ทั้ง DP และ MP รหัส Santa Rosa 0.09micron

  41. Mainboard LGA 775

  42. Heat Sink • ครีบระบายความร้อน CPU และ chip set

  43. Water Cooling • Heat Sink แบบที่ใช้น้ำ ส่วนใหญ่ใช้ในการ over clock

  44. สารเชื่อมความร้อน Thermal Grease • ซิลิโคน Silicone รวมกับ Zinc Oxide มีคุณสมบัติเป็นกลาง • ทำหน้าที่ถ่ายเทความร้อน จาก CPU ไปสู่ heat sink

  45. Power Supply แหล่งจ่ายไฟ

  46. Power Supply

  47. อุปกรณ์ชิ้นหนึ่งในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรามักจะมองข้ามไปและเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญเพราะถ้าขาดเจ้าตัวนี้แล้วเครื่องคอมพิวเตอร์ก็เปรียบเสมือนกล่องเหล็กธรรมดาๆใช้การอะไรไม่ได้ อุปกรณ์ชิ้นนี้ก็คือ แหล่งจ่ายไฟ หรือที่เรามักจะเรียกกันว่า เพาเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) หน้าที่หลักของเพาเวอร์ซัพพลาย คือ เปลี่ยนแรงดันกระแสสลับจากไฟบ้าน 220 โวลท์ให้เป็นแรงดันไฟกระแสตรงขนาด 3.3 , 5 และ 12 โวลต์เพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ต่างๆ นอกจากนี้แหล่งจ่ายไฟที่ดีต้องมีวงจรควบคุมระดับของแรงดันไฟฟ้าให้คง ที่ (Voltage Regulators) ตลอดเวลา เพื่อไม่ให้เกิดการเสียหายกับอุปกรณ์ภายในเครื่อง Power Supply

  48. อุปกรณ์ภายในแหล่งจ่ายไฟ อุปกรณ์ภายในแหล่งจ่ายไฟ ภายในแหล่งจ่ายไฟจะมีหม้อแปลง (Transformer) ขนาดต่างๆ กันเพื่อทำ หน้าที่แปลงแรงดันไฟฟ้าแต่ละระดับให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้นยังมีตัวเก็บประจุ (Capacitor) และขดลวด (Coil) ซึ่งทำหน้าที่กรองแรงดันไฟฟ้าให้เรียบคงที่ตลอดเวลา พัดลมที่อยู่ในแหล่งจ่ายไฟ ทำหน้าที่ระบายความร้อนให้กับตัวหม้อแปลง และยังช่วยระบายอากาศภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ Power Supply

  49. หัวต่อจากแหล่งจ่ายไฟ หัวต่อ (Connector) จากแหล่งจ่ายไฟจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ หัวต่อที่ใช้จ่ายไฟ ให้กับ Mainboard และหัวต่อที่ใช้จ่ายไฟให้กับไดรว์หรืออุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งหัวต่อแต่ละแบบต่างก็มีลักษณะที่แตกต่างกัน หัวต่อที่มาจากแหล่งจ่ายไฟจะมีอยู่ 5 แบบ คือ 1. หัวต่อ ATX ใช้สำหรับจ่ายแรงดันไฟฟ้าขนาดต่างๆ ให้กับ Mainboard แบบ ATX โดยหัวต่อจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าจำนวน 24 ขา (2 แถว แถวละ 12 ขา) ยกเว้น Mainboard รุ่นเก่าจะใช้หัวต่อ ATX แบบ 20 ขา Power Supply

  50. หัวต่อจากแหล่งจ่ายไฟ 2. หัวต่อ ATX 12 V ใช้สำหรับจ่ายแรงดันไฟฟ้าขนาด 12 โวลต์ไปยัง Mainboard เพิ่มเติมจากหัวต่อ ATX ปกติ เพื่อรองรับอุปกรณ์ใหม่ที่ต้องการพลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น โดยหัวต่อ ATX 12 V จะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจำนวน 4 ขาหรือ 8 ขา Power Supply 8 pin 12 v

More Related