1 / 27

รศ.ภก.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ์ รองคณบดี ฝ่ายวางแผนและพัฒนา และ

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มทักษะ การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของจังหวัดและศูนย์อำนวยความเป็นธรรมอำเภอ (ภาคกลางและภาคตะวันออก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓. รศ.ภก.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ์ รองคณบดี ฝ่ายวางแผนและพัฒนา และ

tamyra
Download Presentation

รศ.ภก.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ์ รองคณบดี ฝ่ายวางแผนและพัฒนา และ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มทักษะการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคแก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของจังหวัดและศูนย์อำนวยความเป็นธรรมอำเภอ (ภาคกลางและภาคตะวันออก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ รศ.ภก.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ์ รองคณบดี ฝ่ายวางแผนและพัฒนา และ ผู้จัดการแผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ คคส คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๑-๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ ณ โรงแรมอมารีดอนเมือง กรุงเทพมหานคร

  2. เนื้อหานำเสนอ • บทบาทของ สคบ และ สคบ ภูมิภาค • คคส กับ สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการ • องค์การอิสระคุ้มครองผู้บริโภค

  3. มาตรา 61 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 61 สิทธิของบุคคลซึ่งเป็นผู้บริโภคย่อมได้รับความคุ้มครองในการได้รับข้อมูลที่เป็นความจริง และมีสิทธิร้องเรียนเพื่อให้ได้รับการแก้ไขเยียวยาความเสียหาย รวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค ให้มีองค์การเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากหน่วยงานของรัฐ……………..

  4. สิทธิผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับข่าวสาร รวมทั้งคำพรรณนาที่ถูกต้องและเพียงพอ • สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกสินค้าและบริการ • สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการ • สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย • สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา

  5. วิสัยทัศน์ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภควิสัยทัศน์ของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค “เป็นองค์กรกลางในการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างทั่วถึง เป็นธรรม สร้างความเข้มแข็งให้ผู้บริโภคอย่างยั่งยืน”

  6. พันธกิจ ๑.บังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรมและโปร่งใสเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้บริโภค ๒. สร้างเครือข่ายผู้บริโภคและประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ๓. เผยแพร่ความรู้เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ผู้บริโภครู้จักปกป้องและรักษาสิทธิของตนเอง ๔. พัฒนากฎหมายและนโยบายด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้ทันต่อเหตุการณ์

  7. สิทธิผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับข่าวสาร รวมทั้งคำพรรณนาที่ถูกต้องและเพียงพอ • สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกสินค้าและบริการ • สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการ • สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย • สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา

  8. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์ / บริการ ผลิตภัณฑ์ / บริการ มีผลรุนรุนแรงชัดเจน มีผลสะสมระยะยาว (สังเกตยาก) อันตราย อันตรายต่อสุขภาพ ความรู้สึกไม่สบาย ฉลาก / เอกสาร ผล มีผลตามที่ได้แจ้งไว้หรือไม่ การโฆษณา ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง ความคุ้มค่า คุ้มค่าหรือไม่ เปรียบเทียบกับทางเลือกอื่น

  9. ลวดดัดฟันแฟชั่น แร่ใยหิน น้ำมันทอดซ้ำ ลูกอมฮอร์โมน,อมยิ้ม/ลูกอมเรืองแสง หม้อก๋วยเตี๋ยวปนเปื้อนตะกั่ว ถังน้ำเย็นปนปื้อนตะกั่ว ขนมเด็ก น้ำมันทอดซ้ำ ผลิตภัณฑ์เสี่ยง (สินค้าที่ไม่ปลอดภัย) โรงเรียน ชุมชน ช่องทาง ท้องถิ่น สคบ อนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สภาวิชาชีพ เทศบาล กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

  10. มะเร็งและโรคปอดจากแร่ใยหินมะเร็งและโรคปอดจากแร่ใยหิน

  11. สังคมไทยมีความรับรู้เรื่องแร่ใยหิน จำกัด มีผู้คนจำนวนน้อยที่รู้เรื่องอันตรายของแร่ใยหิน ร้อยละ ๙๐ ใช้ในสินค้าวัสดุก่อสร้าง ท่อซีเมนต์ และกระเบื้องมุงหลังคา ร้อยละ ๘ เป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับ ผ้าเบรกและครัตช์ ร้อยละ ๒ เกี่ยวกับกระเบื้องปูพื้น วัสดุกันความร้อนและวัสดุทนไฟ vithaya kulsomboon 12

  12. อันตรายของแร่ใยหิน การที่อนุภาคของแร่ใยหินสามารถฟุ้งกระจายสู่ปอด ทำให้เกิดโรคร้ายแรงต่างๆที่เกี่ยวกับปอด โรคปอดอักเสบจากแอสเบสตอส หรือ แอสเบสโตซิส (Asbestosis)ทำให้เกิดความผิดปกติต่อเยื่อพังผืดของปอดนำไปสู่ความผิดปกติของปอดในที่สุด โรคมะเร็งปอด (Lung Cancer) ซึ่งจะเพิ่มความเสี่ยงอย่างมาก ถ้าผู้สัมผัสสูบบุหรี่ร่วมด้วย vithaya kulsomboon 13

  13. โรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอดโรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอด โรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอด เมโสเทลีโอมา (Mesothelioma) เป็นโรคที่มีสาเหตุจากแร่ใยหินอย่างเจาะจง ในประเทศไทย เริ่มพบผู้ป่วยในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ในที่สุดผู้ป่วยเสียชีวิตในวันที่ ๔ เดือนมกราคมปี พ.ศ.๒๕๕๑ ขณะเสียชีวิตมีอายุ ๗๕ ปี ผู้ป่วยมีประวัติการทำงาน โดย “ทำงานในแผนกหินสำลี เพื่อผลิตกระเบื้องหลังคามาเป็นเวลา ๒๔ ปี vithaya kulsomboon 14

  14. อันตรายจากการใช้และการทุบทำลายอันตรายจากการใช้และการทุบทำลาย การแตกกระจายของอนุภาคแร่ใยหินที่ฟุ้งกระจายสู่ปอด เกิดจากการเลื่อย ตัด ทุบกระเบื้อง ฝ้า หรือ วัสดุที่มีแร่ใยหิน การทุบทำลายอาคารสามารถทำให้เกิดการฟุ้งกระจายของอนุภาคของแร่ใยหิน อันตรายอาจมาสู่ผู้ทุบทำลาย หรือ ผู้ที่ผ่านไปมาและรับสัมผัส ตลอดจน การขนส่ง นำขยะที่มีแร่ใยหินไปทิ้ง ยังไม่มีมาตรการจัดการความปลอดภัยในการทุบทำลายตึกอาคารที่ใช้แร่ใยหินในประเทศไทย vithaya kulsomboon 15

  15. การจัดการและมาตรการภาครัฐการจัดการและมาตรการภาครัฐ คำเตือน “ระวังอันตราย ผลิตภัณฑ์นี้มีแร่ใยหินเป็นส่วนประกอบการได้รับสารนี้เข้าสู่ร่างกาย อาจก่อให้เกิดมะเร็งและโรคปอด” อันตรายอาจก่อให้เกิดมะเร็งและโรคปอด สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กำหนดให้มีคำเตือนในสินค้าที่มีแร่ใยหินเป็นองค์ประกอบ ประกาศดังกล่าวมีผลบังคับใช้ในเดือนมีนาคม ๒๕๕๓ ในประเทศไทย vithaya kulsomboon 16

  16. มาตรา 61 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 61 สิทธิของบุคคลซึ่งเป็นผู้บริโภคย่อมได้รับความคุ้มครองในการได้รับข้อมูลที่เป็นความจริง และมีสิทธิร้องเรียนเพื่อให้ได้รับการแก้ไขเยียวยาความเสียหาย รวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค ให้มีองค์การเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากหน่วยงานของรัฐซึ่งประกอบด้วยตัวแทนผู้บริโภค ………

  17. องค์การเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคองค์การเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค • มีหน้าที่ • ให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหน่วยงานของรัฐในการตราและการบังคับใช้กฎหมายและกฎ และ • ให้ความเห็นในการกำหนดมาตรการต่าง ๆ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค • รวมทั้งตรวจสอบและรายงานการกระทำหรือละเลยการกระทำอันเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค ทั้งนี้ให้รัฐสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการขององค์การอิสระดังกล่าวด้วย

  18. สถานะทางกฎหมายขององค์การอิสระคุ้มครองผู้บริโภคสถานะทางกฎหมายขององค์การอิสระคุ้มครองผู้บริโภค คล้ายกับองค์การอิสระอื่นๆ แต่ไม่ได้เรียกว่าเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญปัจจุบัน รูปแบบของกฎหมายจัดตั้งองค์การอิสระคุ้มครองผู้บริโภค • ตราเป็นพระราชบัญญัติใหม่ องค์การอิสระที่ยังไม่มีการจัดตั้งตามรัฐธรรมนูญ • องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม มาตรา 67 วรรคสอง • คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ มาตรา 47 วรรคสอง

  19. กรอบการคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชนของนานาชาติ(People-based consumer protection) องค์การสหประชาชาติ (UN) “แนวปฏิบัติว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภคขององค์การสหประชาติ” (the United Nations Guidelines for Consumer Protection, 1985) สหภาพยุโรป (EU) “ยุทธศาสตร์นโยบายผู้บริโภค”(Consumer Policy Strategy, 2002-2006)

  20. กรอบการคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชนของนานาชาติ(People-based consumer protection) สรุปสาระสำคัญ 1) การให้ความสำคัญต่อการจัดตั้งและสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรภาคประชาชนด้านคุ้มครองผู้บริโภค 2) หลักการมีส่วนร่วมขององค์กรผู้บริโภค ด้วยการให้ข้อมูลความเห็นต่อรัฐ ซึ่งรัฐควรพิจารณาเพื่อใช้กำหนดนโยบายตลอดจนมาตรการที่เกี่ยวข้อง เพราะผู้บริโภคเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงรับทราบสภาพปัญหา สามารถใช้ความรู้ ความชำนาญร่วมมือกับรัฐ

  21. บทบาทขององค์การอิสระฯบทบาทขององค์การอิสระฯ องค์การอิสระมีบทบาท เสนอแนะด้านนโยบาย กระตุ้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน กำกับดูแลการทำงานของหน่วยงานรัฐ หน่วยงานรัฐมีบทบาท ในการบังคับใช้กฎหมาย รัฐ-องค์การอิสระฯ ร่วมกันทำงานเป็นเครือข่าย เพื่อเสริมศักยภาพการในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ผู้ปฏิบัติ ผู้แทนประชาชน

  22. ตารางเปรียบเทียบร่างพระราชบัญญัติองค์การอิสระฯตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 มาตรา 61 วรรคสอง

  23. ตารางเปรียบเทียบร่างพระราชบัญญัติองค์การอิสระฯตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 มาตรา 61 วรรคสอง

  24. ตารางเปรียบเทียบร่างพระราชบัญญัติองค์การอิสระฯตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 มาตรา 61 วรรคสอง

  25. ตารางเปรียบเทียบร่างพระราชบัญญัติองค์การอิสระฯตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 มาตรา 61 วรรคสอง

  26. สรุป • ตามพันธกิจหลักของ สคบ ในฐานะ สคบ จังหวัด เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของจังหวัดและศูนย์อำนวยความเป็นธรรมอำเภอ สามารถมีบทบาท ในการบังคับใช้กฎหมายตามพันธกิจหลัก และ มีบทบาทในพันธกิจรอง คือ การสนับสนุนการจัดตั้งเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค และ การเผยแพร่ความรู้ • การพัฒนานโยบาย กฎหมายและและ การบังคับใช้ เพื่อรองรับสิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการ เป็นพันธกิจสำคัญ • บทบาทการคุ้มครองผู้บริโภคของไทย จะพัฒนาไปอย่างมากเมื่อมีองค์การอิสระคุ้มครองผู้บริโภค เนื่องจาก องค์กรอิสระจะมีบทบาทเป็นตัวแทนองค์กรผู้บริโภคที่สำคัญ

More Related