100 likes | 392 Views
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471). รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วัตถุประสงค์ของวิชา. ศึกษากลไกของตลาดแรงงาน พฤติกรรมของนายจ้างและลูกจ้าง สนองตอบต่อแรงจูงใจต่างๆ วิเคราะห์บทบาทของสถาบันสำคัญที่มีอิทธิพลเข้าแทรกแซงตลาด ภาครัฐ และ สหภาพแรงงาน
E N D
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วัตถุประสงค์ของวิชา • ศึกษากลไกของตลาดแรงงาน • พฤติกรรมของนายจ้างและลูกจ้าง • สนองตอบต่อแรงจูงใจต่างๆ • วิเคราะห์บทบาทของสถาบันสำคัญที่มีอิทธิพลเข้าแทรกแซงตลาด • ภาครัฐ และ สหภาพแรงงาน • วิเคราะห์นโยบายและมาตรการ • เพื่อสวัสดิการของทุกฝ่ายในตลาดแรงงาน
การวัดผล • รายงานการศึกษาค้นคว้าประเด็นสำคัญต่าง ๆ เกี่ยวกับแรงงาน • กลุ่มละไม่เกิน ๕ คน๑๕% • สอบกลางภาค วันอังคารที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕ % • สอบปลายภาค วันศุกร์ที่๒ ตุลาคม (เช้า) ๕๐ % • การเข้าเรียน และการมีส่วนร่วมในห้องเรียน ๑๐ %
หนังสือหลักที่ใช้อ่านประกอบหนังสือหลักที่ใช้อ่านประกอบ • George J. Borjas, Labor Economics, McGraw-Hill Companies, Inc. Fourth Edition, McGraw-Hill International Edition, 2008 • McConnell, Campbell R., Stanley L. Brue and David A. Macpherson, Contemporary Labor Economics, Sixth Edition, McGraw-Hill Irwin, 2002 • เศรษฐศาสตร์แรงงานร่วมสมัย แปลและเรียบเรียง จาก McConnell, Brueand Macpherson โดย พรรณี จรัมพร บริษัทสำนักพิมพ์ท้อป จำกัด ๒๕๔๘
ทฤษฎีอุปทาน (การเสนอขาย) แรงงาน • หลักเกณฑ์การตัดสินใจของแต่ละบุคคลที่จะมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน • แบบจำลองการเลือกระหว่าง • งานในตลาด งานบ้าน และการพักผ่อน • อุปทานแรงงานรวม • การลงทุนในทุนมนุษย์ • การศึกษา และการฝึกอบรมระหว่างงาน • ผลของนโยบายรัฐบาล • ต่ออุปทานแรงงานส่วนบุคคล • ต่อการลงทุนในทุนมนุษย์
ทฤษฎีอุปสงค์ (ความต้องการ) แรงงาน • ความต้องการแรงงานของหน่วยผลิต • ในระยะสั้น • และระยะยาว • ความต้องการของตลาดโดยรวม • ปัจจัยกำหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์แรงงาน
ดุลยภาพในตลาดแรงงาน • การกำหนดอัตราค่าจ้าง และ ปริมาณการจ้างงานในตลาดแรงงานแบบต่าง ๆ • ตลาดแรงงานแบบแข่งขันสมบูรณ์ • การผูกขาดในตลาดผลผลิต • การผูกขาดด้านผู้ซื้อแรงงาน • ทางเลือกต่างๆในการจ่ายค่าตอบแทนและประสิทธิภาพแรงงาน • ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยผลิตและคนงาน • ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการจ่ายค่าตอบแทนและประสิทธิภาพแรงงาน • โครงสร้างค่าจ้าง • ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ คนงานและงานมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ • การใช้ค่าจ้างชดเชยความแตกต่างระหว่างงาน หรือ ระหว่างคนงาน
บทบาทของสถาบันหลักในตลาดแรงงานบทบาทของสถาบันหลักในตลาดแรงงาน • สหภาพแรงงาน • แบบจำลองว่าด้วยพฤติกรรมของสหภาพแรงงาน • ผลกระทบของสหภาพแรงงานต่อค่าจ้างและการจ้างงาน • รัฐ • ในฐานะผู้จ้างงาน • ในฐานะผู้กำกับดูแล และ คุ้มครองแรงงาน
การเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงานการเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงาน • ทฤษฎีสำคัญทางเศรษฐศาสตร์ที่อธิบายการเลือกปฏิบัติ • รสนิยม • ข้อมูลไม่สมบูรณ์ • การกระจุกตัวของอาชีพ • นโยบายและมาตรการ • ป้องกันและแก้ไขการเลือกปฏิบัติ
ความคิดเห็น/ความสามารถในการประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มาอธิบายตลาดแรงงานความคิดเห็น/ความสามารถในการประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มาอธิบายตลาดแรงงาน • ประเทศไทยควรกีดกันคนงานจากต่างชาติ เช่น พม่า กัมพูชา หรือไม่ เพราะเหตุใด • คนงานหญิงและชายควรได้รับค่าจ้างเท่ากันหรือไม่ ถ้างานที่ทำนั้นมีลักษณะเหมือนกัน