470 likes | 551 Views
การประชุมพิจารณาจัดทำร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด. ประจำปีงบประมาณ 2553. ปฏิทินการดำเนินการ. ส่งโครงการภายในวันที่ 17 ธันวาคม 2551 19 ธันวาคม ประชุมพิจารณากลั่นกรองโครงการ 22 ธันวาคม นำเสนอ ผอ.ศอ.บต. 23 ส่งโครงการ ส่งแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ให้ 5 จตช. ทำประชาพิจารณ์.
E N D
การประชุมพิจารณาจัดทำร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดการประชุมพิจารณาจัดทำร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2553
ปฏิทินการดำเนินการ • ส่งโครงการภายในวันที่ 17 ธันวาคม 2551 • 19 ธันวาคม ประชุมพิจารณากลั่นกรองโครงการ • 22 ธันวาคม นำเสนอ ผอ.ศอ.บต. • 23 ส่งโครงการ ส่งแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ให้ 5 จตช. ทำประชาพิจารณ์
สภาพทั่วไปของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนสภาพทั่วไปของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ประชากร ณ เดือนธันวาคม 2550
สภาพทั่วไปของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนสภาพทั่วไปของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน การปกครอง 5 จังหวัด ประกอบด้วย
วิสัยทัศน์ ศูนย์การผลิตส่งออกยางพารา อาหารฮาลาล การศึกษา การค้าชายแดน การท่องเที่ยวของภาคใต้ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
พัฒนาและส่งเสริมผลิตภัณฑ์ยางพารา,ไม้ยางพารา แรงงาน และการวิจัย (R&D) ส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานการผลิตและการวิจัยอาหารฮาลาล ส่งเสริมและพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนโดยไม่แบ่งแยก สร้างความเข็มแข็งด้านการบริหารจัดการด้านการค้าชายแดน พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ส่งเสริมคุณภาพชีวิต สร้างความปลอดภัยเป็นดินแดนแห่งโอกาสและคุณธรรม พันธกิจ
ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์ที่ 1 การคุ้มครองความปลอดภัย การอำนวยความเป็นธรรมเพื่อ เสริมสร้างความเชื่อมั่นใน อำนาจรัฐ และสร้างภูมิคุ้มกัน แก่ คนกลุ่มเสี่ยง ยุทธศาสตร์ที่ 2การเสริมสร้างความมั่นคงทางอาชีพ และรายได้แก่ผู้มีรายได้น้อย ให้พึ่งตนเองได้ ยุทธศาสตร์ที่ 3การพัฒนาคุณภาพคนเพื่อสร้างโอกาสการมีงานทำ ยกระดับ คุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 4เสริมสร้างความเข้มแข็งฐานเศรษฐกิจของพื้นที่ และการพัฒนา ความร่วมมือกับต่างประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การคุ้มครองความปลอดภัย การอำนวยความเป็นธรรม เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นในอำนาจรัฐ และสร้างภูมิคุ้มกันแก่คนกลุ่มเสี่ยง เป้าประสงค์ • กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ความไม่สงบ ได้รับการช่วยเหลือและพัฒนาให้สามารถพึ่งตนเองได้ • กลุ่มคนที่มีความเสี่ยงต่อการถูกชักจูงให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหาความไม่สงบได้รับการดูแลป้องกันและมีกระบวนการพัฒนาให้ปลอดจากภาวะเสี่ยงได้อย่างถาวร ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย ปี 2552 : • ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยของหมู่บ้านในพื้นที่กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการสร้างความเข็มแข็งในการรักษาความปลอดภัย ร้อยละ 25 ของหมู่บ้านเป้าหมายทั้งหมด
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างความมั่นคงทางอาชีพและรายได้แก่ผู้มี รายได้น้อยให้พึ่งตนเองได้ เป้าประสงค์ คนในพื้นที่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ ความรู้ ทักษะการประกอบอาชีพ และมีความมั่นคงในการดำรงชีวิตที่จะนำไปสู่ความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน และเกิดความสมานฉันท์ของสังคม ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย ปี 2552 : 1. ร้อยละอัตราการว่างงานลดลง ร้อยละ 2 ต่อปี 2 ร้อยละจำนวนครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.ลดลง ร้อยละ 25 ต่อปี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพคนเพื่อสร้างโอกาสการมีงานทำและ ยกระดับคุณภาพชีวิต เป้าประสงค์ 1. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี 2. การเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภาคใต้ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย ปี 2552 : • ร้อยละของประชากรที่ได้รับการศึกษาทั้งในและนอกระบบการศึกษาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 ต่อปี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างความเข้มแข็งฐานเศรษฐกิจของพื้นที่และ การพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศ เป้าประสงค์ (1) พัฒนาเศรษฐกิจให้มีฐานที่เข้มแข็ง มีความสมดุลเป็นธรรม สามารถเติบโตอย่างมั่นคงในระดับที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มโอกาสการพัฒนาอาชีพ การมีงานทำ และรายได้ สร้างความหวังแก่ประชาชนให้มีความมั่นใจที่จะอยู่ในพื้นที่ ที่จะนำไปสู่สันติสุขของสังคมได้อีกทางหนึ่งด้วย (2) การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรและอุตสาหกรรม (3) ภาคธุรกิจ การค้า การท่องเที่ยว และการบริการ มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น (4) เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างความเข้มแข็งฐานเศรษฐกิจของพื้นที่และ การพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย ปี 2552 : 1. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ายางพาราที่ผลิตได้ 2. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร 3. ร้อยละรายได้ที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว 4. มูลค่าการค้าระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น 5. ประชาชนและผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้เพิ่มขึ้น 6. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าสินค้าอาหารฮาลาล
สรุปงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน (สงขลา สตูล ปัตตานี นราธิวาส ยะลา) • กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนได้รับกรอบการจัดทำงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ในวงเงิน 196,049,500 บาท • กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนได้เสนอของบประมาณใน 2 ผลผลิต 14 โครงการ งบประมาณ 195,718,000 บาท • การพัฒนาคุณภาพคน เพื่อสร้างโอกาสการมีงานทำและยกระดับคุณภาพชีวิต 2 โครงการ งบประมาณ 20,031,000 บาท • เสริมสร้างความเข้มแข็งฐานเศรษฐกิจของพื้นที่และการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ 12 โครงการ งบประมาณ 175,408,000 บาท • สำนักงบประมาณแจ้งจังหวัดว่าคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2552 ได้มีมติให้ตัดงบประมาณของกลุ่มจังหวัดทั้งหมด (วงเงินรวม 3,000,000,000 บาท) เนื่องจากการจัดทำงบประมาณของกลุ่มจังหวัดไม่มีกฎหมายรองรับ ทำให้การเสนอของบประมาณฯ ถูกตัดไปด้วย
สรุปงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน (สงขลา สตูล ปัตตานี นราธิวาส ยะลา) หมายเหตุ ในยุทธศาสตร์ที่ 1 และ 2 เป็นภารกิจของ ศอ.บต.
การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกโดย สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิสัยทัศน์กลุ่มจังหวัดวิสัยทัศน์กลุ่มจังหวัด “ศูนย์กลางการผลิตและส่งออก ยางพารา อาหารฮาลาล การศึกษา การค้าชายแดน การท่องเที่ยวของภาคใต้ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข”
ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างความเข้มแข็งฐานเศรษฐกิจของพื้นที่และการพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศโดย สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พันธกิจ ด้านเศรษฐกิจ (การค้า อุตสาหกรรม เกษตร) ด้านยางพารา • เป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งเสริมการส่งออกยางพาราและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใหญ่ที่สุดในแถบภูมิภาคเอเชีย กลยุทธ์ที่ 1 สร้างอำนาจการเป็นผู้นำในการกำหนดราคายางพาราและผลิตภัณฑ์จากยางพาราในตลาดโลก กลยุทธ์ที่ 2 ขยายช่องทางการจัดจำหน่ายจากจีน ญี่ปุ่นไปยังตลาดใหม่ ๆ เช่นยุโรป กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการผลิตแบบครบวงจรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์ที่ 4 วางแผนในการปรับตัวให้เข้ากับภาวะเศรษฐกิจโลก แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด - การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพารา - พัฒนาตลาดกลางยางพารา - ส่งเสริมพัฒนาทักษะแรงงาน - ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา (R&D)
พันธกิจ ด้านเศรษฐกิจ (การค้า อุตสาหกรรม เกษตร) ด้านอาหารฮาลาล • เป็นผู้นำการส่งออกอาหารฮาลาลของไทยไปยังตลาดต่างประเทศที่ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมเกษตรกรและผู้ผลิตในการผลิตมาตรฐานและกระบวนการการ ผลิตอาหารฮาลาลให้เป็นที่ยอมรับในกลุ่มผู้บริโภคมุสลิมทั่วโลก กลยุทธ์ที่ 2 สนับสนุนการทำตลาดเชิงรุกไปยังกลุ่มประเทศมุสลิม กลยุทธ์ที่ 3 สร้างความมั่นใจให้กับผู้ประกอบการภาคเอกชนในการลงทุนสร้าง โรงงานแปรรูปอาหารฮาลาลในพื้นที่ แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • ตั้งศูนย์เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ฮาลาล • ส่งเสริมการเลี้ยงรายย่อย/วิสาหกิจชุมชน (แพะ,แกะ) • โรงเชือด • อุตสาหกรรมอาหารทะเล • ตั้งนิคมอุตสาหกรรมฮาลาลปัตตานี • พัฒนาองค์ความรู้
พันธกิจ ด้านเศรษฐกิจ (การค้า อุตสาหกรรม เกษตร) ด้านการค้าต่างประเทศ • เป็นประตูเชื่อมโยงพัฒนาและเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ • การขนส่งระบบราง กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมสำหรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมกิจกรรมและอำนวยความสะดวกในการขยายโอกาสทาง การตลาดในทุกๆ ด้าน แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • เจาะอุโมงค์เพื่อเดินทางไปเบตง (ถนน 410) • อบรมบุคลกรให้มีความรู้ในด้านการประกอบธุรกิจ นำเข้าส่งออก • ปรับปรุงภูมิทัศน์และสิ่งอำนวยความสะดวกให้มีความทันสมัย
การศึกษา แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • โรงเรียนตาดีกา • ปรับและพัฒนาหลักสูตรการเรียน • ส่งเสริมการเรียนการสอนโดยไม่แบ่งแยก
การท่องเที่ยว แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาสินค้า บุคลากรและการตลาดด้านการท่องเที่ยว • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการท่องเที่ยว
คุณภาพชีวิต แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • จัดตั้งศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู(มอ.) • จัดตั้งศูนย์แพทย์ฉุกเฉิน • การพัฒนาอาชีพ/การมีงานทำ • การจัดทั้งกลุ่มงานฝีมือ • สถานพยาบาล • อาการปลอดภัย
ความมั่นคง แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • กลุ่มเยาวชน • นอกระบบโรงเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง • ในระบบโรงเรียน • การสื่อสารความเข้าใจกับเยาวชน • ติดตามพฤติกรรมเยาวชนที่เข้ารับการเยียวยาแล้ว • การเข้าถึงเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่แท้จริง
เป้าหมายการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนเป้าหมายการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน • เพิ่มปริมาณและความหลากหลายผลผลิตสินค้าแปรรูปจากยางพารา • มีการดำเนินการจัดการอุตสาหกรรมยางพาราต่อเนื่องอย่างครบวงจร • เพิ่มรายได้จากการปลูกยางพารา โดยขายเป็นสินค้าแปรรูป และมีการจัดการด้านต้นทุนที่ดี • เกษตรกร • ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ยางพารา อาหารฮาลาล • เพิ่มปริมาณการผลิตอาหารฮาลาล โดยสนับสนุนให้มีผู้ประกอบการมากขึ้น • ผู้ประกอบการมีวิธีการที่ถูกต้อง มีมาตรฐานและมีตราสินค้าของกลุ่มผู้ประกอบการ • เกษตรกร • ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม การค้าต่างประเทศ • กลุ่มผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าและส่งออก • ผู้ผลิต • ขยายตลาดการค้าในต่างปรเทศ • ผู้ประกอบการธุรกิจส่งออกและนำเข้ามีทักษะในการดำเนินธุรกิจที่ดีและมีความเข้มแข็ง
โครงการสำคัญ ระดับกลุ่มจังหวัดสำหรับการพัฒนายุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน
1. ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา/ไม้ยางพารา
1. ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา/ไม้ยางพารา
1. ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา/ไม้ยางพารา
1. ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา/ไม้ยางพารา
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ