1 / 25

อนาคตแพทย์ไทย

อนาคตแพทย์ไทย. กับ ภาษี. ภาษี. นายแพทย์ไพโรจน์ บุญศิริคำชัย. แพทย์. จ้างแรงงาน ตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๔๐ ( ๑ ) จากการรับทำงานให้ ตามมาตรา ๔๐ ( ๒ ) จากการประกอบวิชาชีพอิสระ ตามมาตรา ๔( ๖ ) จากการประกอบธุรกิจ ตามมาตรา ๔๐ ( ๘ ) เปิดคลินิกรักษาคนไข้ของตนเอง = มาตรา ๔๐ ( ๖ )

tanek-pena
Download Presentation

อนาคตแพทย์ไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อนาคตแพทย์ไทย กับภาษี ภาษี นายแพทย์ไพโรจน์ บุญศิริคำชัย

  2. แพทย์ จ้างแรงงาน ตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๔๐ ( ๑ ) จากการรับทำงานให้ ตามมาตรา ๔๐ ( ๒ ) จากการประกอบวิชาชีพอิสระ ตามมาตรา ๔( ๖ ) จากการประกอบธุรกิจ ตามมาตรา ๔๐ ( ๘ ) เปิดคลินิกรักษาคนไข้ของตนเอง = มาตรา ๔๐ ( ๖ ) กิจการสถานพยาบาลมีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน = ๔๐ ( ๘ )

  3. ฎีกาที่ ๕๐๒ / ๒๕๑๙ ( ประชุมใหญ่ )โจทก์เป็นแพทย์เป็นพนักงานของโรงพยาบาลแห่งหนึ่งแล้ว ยังไปรับหน้าที่ตรวจ และรักษาพยาบาลให้พนักงานและลูกจ้างของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ที่โรงจักรแม่เมาะ และที่เหมืองแม่เมาะ จังหวัดลำปาง สัปดาห์ละ ๒ วันโดยได้รับค่าตอบแทนเป็นรายเดือนแห่งละ ๑๕,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินเดือนละ ๓๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๔๐ ( ๒ )

  4. ฎีกาที่ ๑๘๐๒ / ๒๕๓๓ โจทก์ประกอบวิชาชีพเป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาล ได้รับเงินเดือนประจำจากโรงพยาบาล และโรงพยาบาลตกลงให้โจทก์เปิดคลินิกพิเศษนอกเวลาทำการปกติโดยใช้สถานที่ของโรงพยาบาล มีข้อตกลงว่าโจทก์จะแบ่งรายได้ให้โรงพยาบาลไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๒๐ อย่างสูงไม่เกินร้อยละ ๘๐ เช่นนี้ เงินได้ที่โจทก์ได้รับจากการเปิดคลินิกพิเศษนอกเวลา มาตรา ๔๐ ( ๖ )

  5. ที่ กค 0811(กม)/03785 วันที่ 27 มีนาคม 2541เรื่อง ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับเงินได้จากการประกอบวิชาชีพอิสระฯ 1. รัฐ หรือเอกชน ค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน หรือค่าจ้าง = ม.40 (1) 2. ตาม (1) แล้วมีรายได้พิเศษจากค่าล่วงเวลาจากการเข้าเวรหรือค่าตอบแทนพิเศษ ม.40 (1) 3. ตาม (1) แล้วครั้งคราวอีกแห่งหนึ่งค่าตอบแทนหรือค่าจ้างแน่นอนในแต่ละเดือน ไม่ว่าเป็นงานประจำหรือชั่วคราว= 40 (2) 4. ข้อตกลงพิเศษกับสถานพยาบาลนอกเวลาข้อตกลงแบ่งเงินที่ตนได้รับจากผู้ป่วยให้สถานพยาบาลเป็นลายลักษณ์อักษร = ม.40 (6) 5. ทำงานประจำและมิได้ทำงานประจำในรัฐหรือเอกชน แต่ได้ประกอบโรคศิลปะ ตรวจรักษาที่สถานพยาบาลอีกแห่งหนึ่งครั้งคราว = ม.40 (6) 6. เปิดสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลเป็นของตนเอง ไม่มีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน =40 (6)

  6. ฎีกาที่ ๒๖๔๓ / ๒๕๔๓โจทก์เป็นแพทย์ทำสัญญารับจ้างบริษัท ก. ทำงานในโรงพยาบาลราชบุรี มีหน้าที่ดูแลรักษาผู้ป่วย ตกลงค่าตอบแทนโดยให้โจทก์เรียกเก็บค่าตรวจรักษาจากผู้ป่วยเป็นราย ๆ ไป แต่ต้องไม่เกินอัตราที่ผู้ว่าจ้างกำหนดไว้ โจทก์จะได้รับค่าตอบแทนร้อยละ ๘๕ ของค่าตรวจรักษาที่เรียกเก็บจากผู้ป่วย หากเป็นผู้ป่วยที่โจทก์นำมารักษาจะได้รับค่าตรวจรักษาทั้งหมด แต่การคิดค่าตรวจรักษาต้องไม่เกินอัตราที่ผู้ว่าจ้างกำหนด ส่วนค่าใช้จ่ายอื่น ๆที่ผู้ป่วยต้องชำระ เช่น ค่ายา ค่าพยาบาล ค่าห้อง ผู้ว่าจ้างเป็นผู้ได้รับ โจทก์ได้รับเงินจากผู้ว่าจ้างโดยตรง โดยผู้ว่าจ้างหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้ ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า เป็นกรณีที่ผู้ป่วยจ้างผู้ว่าจ้างตรวจรักษาอาการแล้วผู้ว่าจ้างมอบหมายให้โจทก์เป็นผู้ตรวจรักษา โดยให้ค่าตรวจรักษาตามสัญญาว่าจ้างแพทย์ที่โจทก์ทำไว้กับผู้ว่าจ้าง ไม่ใช่เป็นกรณีผู้ว่าจ้างตกลงให้โจทก์เปิดคลินิกพิเศษนอกเวลาทำการปกติของโรงพยาบาล และโจทก์เป็นผู้เรียกเก็บเงินจากผู้ป่วยที่มารักษาเอง โจทก์จึงได้เงินได้จากการับทำงานให้ผู้ว่าจ้าง เป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา๔๐ ( ๒ )

  7. ฎีกาที่ ๖๘๖๕ / ๒๕๔๓โจทก์ซึ่งเป็นแพทย์ทำสัญญารับจ้างทำงานในโรงพยาบาล มีหน้าที่ดูแลรักษาผู้ป่วยโดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ของโรงพยาบาล ส่วนค่ายา และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ โรงพยาบาลเป็นผู้ออก ผู้ป่วยที่เข้าทำการรักษาให้โจทก์เรียกเก็บเป็นค่าตรวจรักษาเป็นราย ๆ และเป็นครั้ง ๆ โดยโจทก์ได้รับค่าตอบแทนร้อยละ ๘๕ ส่วนโรงพยาบาลได้รับร้อยละ ๑๕ ของค่าตรวจรักษา แม้โจทก์จะเป็นผู้กำหนดค่าตรวจรักษาผู้ป่วยที่เข้ามารักษาในโรงพยาบาลด้วยตนเอง แต่มิใช่ว่าโจทก์จะกำหนดเพียงใดก็ได้ เพราะค่าตรวจรักษาดังกล่าวต้องไม่เกินอัตราที่ผู้ว่าจ้างกำหนด และโจทก์จะได้รับเฉพาะค่าตรวจรักษาเท่านั้น ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ผู้ว่าจ้างเป็นผู้ได้รับทั้งสิ้น โดยผู้ป่วยจะชำระให้ผู้ว่าจ้างพร้อมกับค่าตรวจรักษา เห็นได้ว่า โจทก์ได้รับเงินได้จากผู้ว่าจ้างโดยตรงซึ่งผู้ว่าจ้างได้หักภาษี ณ ที่จ่ายไว้จึงเป็นกรณีที่ผู้ป่วยจ้างผู้ว่าจ้างตรวจรักษาอาการป่วยเจ็บ แล้วผู้ว่าจ้างมอบหมายให้โจทก์เป็นผู้รักษาโดยให้ค่าตอบแทน คือค่าตรวจรักษาตามสัญญาว่าจ้างแพทย์ จึงเป็นเงินได้เนื่องจากรับทำงานให้ผู้ว่าจ้าง ตามมาตรา๔๐ ( ๒ )

  8. ฎีกาที่ ๖๘๖๘ / ๒๕๔๓โจทก์เป็นแพทย์ทำสัญญารับจ้างบริษัท ก. ทำงานในโรงพยาบาล มีหน้าที่รักษาผู้ป่วย โดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ ยารักษา ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ซึ่งผู้ว่าจ้างเป็นผู้ออก ค่าตรวจรักษาโจทก์เป็นผู้กำหนดแต่ไม่เกินอัตราที่โรงพยาบาลกำหนดไว้ โดยโจทก์ได้รับค่าตรวจรักษาร้อยละ ๘๕ โรงพยาบาลได้รับร้อยละ ๑๕ ในกรณีเป็นผู้ป่วยที่โจทก์นำมารักษา โจทก์จะได้รับค่าตรวจรักษาทั้งหมด แต่จะได้รับเฉพาะค่าตรวจรักษาเท่านั้น ส่วนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ผู้ป่วยต้องชำระ ผู้ว่าจ้างเป็นผู้รับทั้งสิ้น โจทก์มิได้รับเงินจากผู้ป่วยโดยตรง แต่เป็นการรับโดยผ่านผู้ว่าจ้าง จึงเป็นกรณีที่ผู้ป่วยจ้างผู้ว่าจ้างตรวจรักษา แล้วผู้ว่าจ้างมอบหมายให้โจทก์เป็นผู้ตรวจรักษา โดยให้ค่าตอบแทนคือค่ารักษาตามสัญญาว่าจ้าง จึงเป็นเงินได้เนื่องจากการรับทำงานให้ ตามมาตรา๔๐( ๒ )

  9. ที่ กค 0811/ว.2497 วันที่ 29 มีนาคม 2543เรื่อง ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับเงินได้จากวิชาชีพอิสระการประกอบโรคศิลปะ 40(6) ทำข้อตกลงกับสถานพยาบาลเพื่อขอใช้สถานที่ เครื่องมือ โดยผู้ประกอบฯ เป็นผู้เรียกเก็บเงินค่าตรวจรักษาเอง และมีข้อตกลงแบ่งเงินค่าตรวจรักษาให้แก่สถานพยาบาลเป็นลายลักษณ์อักษร สถานพยาบาลเป็นผู้เรียกเก็บเงินค่าตรวจรักษาแทนผู้ได้รับอนุญาต ให้ประกอบฯ แล้วนำมาจ่ายให้กับผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบฯ เพื่อแบ่งรายได้ให้แก่สถานพยาบาลต่อไป

  10. ให้ถือว่าเงินที่ผู้ได้รับอนุญาตเรียกเก็บจากผู้ป่วยให้ถือว่าเงินที่ผู้ได้รับอนุญาตเรียกเก็บจากผู้ป่วย ทั้งจำนวน เป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(6) ให้ถือว่าเงินที่ผู้ได้รับอนุญาตเรียกเก็บจากผู้ป่วย ทั้งจำนวน เป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(6) 40(2) ให้ผู้จ่ายเงินได้คำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายไว้ทุกคราวที่จ่ายเงินตามมาตรา 50(1) สถานพยาบาลมิใช่ผู้จ่ายเงินได้ จึงไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามข้อ 7 แห่งคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป. 4/2528

  11. ประเภทของเงินได้พึงประเมิน ตามมาตรา ๔๐ แบ่งเป็น ๘ ประเภท เงินได้พึงประเมินตามมาตรา ๔๐ ( ๖ ) เงินได้จากวิชาชีพอิสระ คือวิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลปะ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพอิสระอื่น ซึ่งจะได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดชนิดไว้

  12. วิชาชีพ กับ อาชีพ ความแตกต่างระหว่าง แพทย์ กับ ช่างตัดผม

  13. กรณี ร.พ.รัชดาท่าพระชนะคดี ฎีกาที่ ๕๓๔๕/๒๕๔๙ โจทก์เป็นบริษัท ฟ้องสำนักงานประกันสังคม คดีแรงงาน กรณีสำนักงานประกันสังคมเรียกเก็บเงินโจทก์ย้อนหลังกรณีส่งเงินสมทบประกันสังคมที่คำนวณจากพนักงานไม่ครบ โดยขาดส่งในส่วนของแพทย์ โดยสำนักงานประกันสังคมตีความว่าแพทย์เป็นลูกจ้างของโรงพยาบาล แต่โจทก์สู้ว่า แพทย์มิใช่เป็นลูกจ้างของโรงพยาบาล ศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี ด้วยเหตุผลว่าแพทย์เป็นผู้ประกอบวิชาชีพอิสระ เสียภาษีตามประมวลรัษฎากรมาตรา ๔๐(๖) เนื่องจากมีสัญญาที่เป็นข้อตกลงระหว่างโรงพยาบาลกับแพทย์ในฐานะที่เป็นคู่สัญญา และมีลักษณะของนิติสัมพันธ์ที่ไม่มีสภาพการบังคับบัญชา ไม่ต้องมีการลางาน ทำผิดไม่ต้องถูกลงโทษ ไม่ต้องมีเวลาเข้าออกงานที่แน่นอน จึงไม่ใช่นายจ้างลูกจ้างต่อกัน

  14. กรณี น.พ.เอนก อารีพรรค แพ้คดี ฎีกาเลขที่ ๕๙๖๐/๒๕๔๙ โจทก์รับราชการมีเงินได้ประเภทเงินเดือนจากคณะแพทยศาสตร์ และมีเงินได้จากการประกอบโรคศิลปะนอกเวลาราชการโรงพยาบาลหรือคลินิกเอกชนอื่นอีก การที่โจทก์ ยื่นแบบ๔๐ (๖) ไม่ถูกต้อง เนื่องจากไม่สามารถนำสืบได้ว่าผู้ป่วยที่มารับการรักษาจากโจทก์ทั้งสองไม่ใช่ผู้ป่วยของโรงพยาบาล แต่เป็นผู้ป่วยที่ได้นัดหมายมาตรวจกับแพทย์โดยตรงและใช้สถานที่ของโรงพยาบาลเป็นสถานที่ในการนัดหมายตรวจรักษา และโจทก์ยอมรับว่าคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการที่โรงพยาบาลหรือคลินิกเอกชนอื่น เป็นผู้เก็บเงินและออกใบเสร็จรับเงินในนามของคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการที่โรงพยาบาลไม่ได้ออกในนามของโจทก์ทั้งสองได้หักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ ในการปฏิบัติงานที่คลินิกพิเศษฯไม่สามารถนำสืบพิสูจน์ได้ว่า การประกอบโรคศิลปะของโจทก์มีค่าใช้จ่ายมากเพียงใด จึงเข้าลักษณะเป็นค่าจ้างซึ่งเป็นเงินได้ตามมาตรา ๔๐ (๒)

  15. เปรียบเทียบความแตกต่าง ชนะ/แพ้ ของคดี ไม่มีสภาพบังคับบัญชา ไม่มีเวลาเข้า/ออกงาน ไม่มีการลางาน คำอธิบายคำพิพากษาฎีกา ใบเสร็จรับเงินของแพทย์ ไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย แสดงรายการรับจ่ายได้ คู่สัญญา ลูกจ้าง

  16. สถานที่ประกอบการ ความแตกต่างระหว่าง คลินิก กับ เปิดร้านขายของ

  17. ต้นทุนรายจ่าย วิชากฎหมาย เช่น เงินได้จากค่าทนายความที่ว่าความในศาล การรับทำสัญญา หรือพินัยกรรม หรือให้คำปรึกษาทางกฎหมาย

  18. ต้นทุนรายจ่าย วิศวกรรม ได้แก่ การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้เป็นประโยชน์ในสาขาวิศวกรรม รวมถึงการให้คำปรึกษาทางด้านวิศวกรรม หรือเกี่ยวกับวิศวกรรม แต่ไม่รวมถึงการติดตั้ง ซ่อมแซม หรือการควบคุม

  19. ต้นทุนรายจ่าย สถาปัตยกรรม ได้แก่ วิชาการช่าง เช่น งานวางโครงการ วางผังและออกแบบ ทำรายการกำหนดราคาก่อสร้าง รวมถึงการให้คำปรึกษาทางด้านสถาปัตยกรรม หรือเกี่ยวเนื่องกับสถาปัตยกรรม แต่ไม่รวมถึงการรับเหมาก่อสร้าง รับพิมพ์แบบพิมพ์เขียว

  20. ต้นทุนรายจ่าย ประณีตศิลปกรรม ได้แก่การกระทำใด ๆ ที่มีคุณค่าทางศิลปะ กรมสรรพกรถือหลักว่า ถ้าวัสดุสิ่งของที่นำมาทำนั้นมีราคาน้อย แต่เมื่อทำเสร็จแล้วผลของงานมีมูลค่า หรือคุณค่าสูบ คือเป็นงานประณีตศิลปกรรม

  21. ต้นทุนรายจ่าย การบัญชี ได้แก่ ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จำแนก และนำสรุปข้อมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน และการให้ข้อมูลทางการเงิน ซึ่งมีหลายสาขา ไม่ว่าจะเป็นการทำบัญชี การวางระบบบัญชี การบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน การตรวจสอบบัญชี เพื่อให้ความเห็นต่องบการเงิน

  22. ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้  (ฉบับที่ 161) เรื่องกำหนดให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และมิได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดทำบัญชีหรือรายงานแสดงรายได้และรายจ่าย ประกาศ ณวันที่  21 ธันวาคม พ.ศ. 2549     ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และมิได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เฉพาะผู้มีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(5) (6) (7) และ (8) แห่งประมวลรัษฎากร จัดทำบัญชีหรือรายงานแสดงรายได้และรายจ่ายเป็นประจำวัน โดยต้องมีรายการและข้อความอย่างน้อยตามแบบที่แนบท้ายประกาศนี้

  23. การจัดตั้งคณะบุคคล

  24. การจัดตั้งคณะบุคคล หนังสือ กค 0811/2227 มีข้อหารือว่า คณะบุคคลยื่นคำร้องขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 2ราย คณะบุคคลนายแพทย์ ส. และคณะ จัดตั้งขึ้นเพื่อประกอบวิชาชีพเวชกรรม ประกอบด้วย นายแพทย์ ส. และนายแพทย์บ. โดยนายแพทย์ ส. เป็นผู้จัดการ คณะบุคคล นายแพทย์ บ. และคณะ จัดตั้งขึ้นเพื่อประกอบวิชาชีพเวชกรรม ประกอบด้วย นายแพทย์ ส. และนายแพทย์บ. โดยนายแพทย์ บ. เป็นผู้จัดการ สำนักงานสรรพากรภาค จึงหารือว่าคณะบุคคลทั้งสองเป็นบุคคลเดียวกันหรือไม่

More Related