1 / 11

โครงงานวิจัย ความสนใจในการเรียนดนตรีของเยาวชนจังหวัดเลย

โครงงานวิจัย ความสนใจในการเรียนดนตรีของเยาวชนจังหวัดเลย. OUTLINE. บทที่ 1 : บทนำ ที่มาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตงานวิจัย บทที่ 2 : งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทฤษฏีความต้องการ เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 : ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนการดำเนินงาน

Download Presentation

โครงงานวิจัย ความสนใจในการเรียนดนตรีของเยาวชนจังหวัดเลย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงงานวิจัย ความสนใจในการเรียนดนตรีของเยาวชนจังหวัดเลย

  2. OUTLINE • บทที่ 1 : บทนำ • ที่มาและความสำคัญ • วัตถุประสงค์ของการวิจัย • ขอบเขตงานวิจัย • บทที่ 2 : งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ทฤษฏีความต้องการ • เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • บทที่ 3 : ขั้นตอนการดำเนินงาน • ขั้นตอนการดำเนินงาน • ระยะเวลาการดำเนินงาน • เอกสารอ้างอิง

  3. บทที่ 1 บทนำ • ที่มาและความสำคัญ การดนตรีศึกษาในประเทศ ไทยนับได้ว่ามีการพัฒนาก้าวหน้ากว่าในอดีตมาก   และเป็นที่ยอมรับของสังคมมากขึ้น   ในแง่ของวิชาชีพที่ไม่ใช่การเต้นกินรำกินหาสาระแก่นสารไม่ได้เหมือนแต่ก่อน แต่ทุกวันนี้อาชีพทางดนตรีเป็นอาชีพที่มีหลายมิติ   ทั้งทางด้านการเป็นนักดนตรี   นักร้อง   ผู้ทำงานเบื้องหลัง  เช่น  นักแต่งเพลง   นักเรียบเรียงเสียงประสาน   นักธุรกิจดนตรี   ซึ่งนักดนตรีไทยในปัจจุบันมีความสามารถทางการดนตรีสูงขึ้นทั้งในแง่ทฤษฎีและ การปฏิบัติ     อีกด้านหนึ่งของการยอมรับคือ  ทงด้านการศึกษาดนตรี    วิชาดนตรีถูกยกมาตรฐานให้มีความสำคัญทัดเทียมกับวิชาแขนงอื่น ๆ   มีการเปิดหลักสูตรดนตรีในระดับอุดมศึกษาหลายสาขา   เช่น  สาขาดนตรีศึกษา   สาขาดนตรีปฏิบัติทั้งดนตรีคลาสสิกและดนตรีร่วมสมัยอื่น ๆ   สาขาวิชาดนตรีเพื่อการธุรกิจ   ฯลฯ  ซึ่งมีทั้งระดับปริญญาตรี   ปริญญาโท  ถึงระดับปริญญาเอก   ซึ่งตอบสนองความต้องการทางการศึกษา

  4. วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย • เพื่อศึกษาความสนใจในการเรียนดนตรีของเยาวชนในเขตเทศบาลเมืองเลย • เพื่อนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปใช้ในการตัดสินใจที่จะประกอบธุรกิจโรงเรียนสอนพิเศษดนตรี • เพื่อนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปปรับปรุงธุรกิจโรงเรียนสอนดนตรี

  5. ขอบเขตงานวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - เยาวชนในเขตเทศบาลเมืองเลย จังหวัดเลย 2. ระยะเวลาในการศึกษาวิจัย - ระยะเวลา 1 ปี

  6. บทที่ 2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ทฤษฏีความต้องการ

  7. เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ทองแถม นาถจํานง (91-106) ไดกลาวถึงการพัฒนาของเครื่องดนตรีของชนชาติตางๆในจีนตอนใตและในอุษาคเนยที่มีความใกลเคียงกัน แสดงถึงความสัมพันธทางวัฒนธรรมของกลุมชนตางๆ ในภูมิภาค ซึ่งเครื่องดนตรีมีความเกี่ยวของกับพิธีกรรม เชน กลองไมที่ใหเสียงอันศักดิ์สิทธิ์และไพเราะของชนชาวมงกระดิ่งที่ใชในพิธีกรรมขับไลภูตผีของหมอผีชาวเยา รวมถึงเครื่องดนตรีตางๆ ที่เกี่ยวพันกับวิถีชีวิต เชน เครื่องเปาที่ทําจากตนออ ตนขาวในฤดูเก็บเกี่ยวของชาววะ ชาวไต ชาวจวง ชาวเยา ชาวจีนเปนตน • Nguyen Tuong Lai (83-90) ไดกลาวถึงเครื่องดนตรีของชนชาติไทยเวียตนามเชน ไตนุงไทยดําไทยขาวไตถันไตมองลาวลูแกว ซึ่งผสมผสานกับทุกอิริยาบทของวิถีชีวิต เชน เพลงที่ใชเปนบทสวดใหพืชไรงอกงาม เพลงรองโตตอบกันของคนหนุมสาวในงานเทศกาลที่ใชบรรยายทิวทัศนภาพชีวิต ภาพการทํางานและความรักของคนหนุมสาวเพลงรองในเทศกาลเก็บเกี่ยวงานหมั้น งานแตงงาน การกลอมลูกงานศพรวมถึงเพลงที่ดึงดูดใจและออนหวานที่บางตอนจะอธิบายถึงสัจธรรมตางๆ

  8. บทที่ 3 ขั้นตอนดำเนินงาน • ขั้นตอนการดำเนินงาน

  9. ระยะเวลาการดำเนินงาน

  10. เอกสารอ้างอิง • วัชราภา ขันสำอางค์. (2543). ผลของบรรยากาศการเรียนรู้ทางจิตวิทยาที่มีต่อแรงจูงใจและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดนตรีด้านทฤษฎีสำหรับนักเรีนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาสารัตถศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. • ขวัญใจ ฮีลีย์. (2533). สภาพและปัญหาของดนตรีศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาสารัตถศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • จารึก ศุภพงศ์. (2546). การศึกษาการดำเนินการพัฒนาหลักสูตรดนตรีสำหรับนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษทางด้านดนตรี: กรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. • ทัศไนย อายุเจริญ. (2535). สภาพการจัดการเรียนการสอนดนตรีไทยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

  11. จบการนำเสนอ ขอบคุณคะ

More Related