1 / 4

การให้ออกซิเจนที่บ้าน

ตัวแท็งก์โดยมากมีสีเขียว มี 4 ขนาด จากขนาดเล็กไปใหญ่ ดังนี้ คือ ขนาดจิ๋ว (พกใส่กระเป๋า หิ้วหรือสะพายได้),ขนาดเล็ก( D ), ขนาดกลาง( E ), และขนาดใหญ่( D ) วิธีใช้ 1. ปิดวาวล์ให้แน่นสนิทก่อน 2. ต่อหัวเกจ์เข้ากับท่อออกซิเจนใต้หัววาวล์ โดยใช้กุญแจเลื่อนหมุนจนแน่น. การให้ออกซิเจนที่บ้าน.

Download Presentation

การให้ออกซิเจนที่บ้าน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวแท็งก์โดยมากมีสีเขียว มี 4 ขนาด จากขนาดเล็กไปใหญ่ ดังนี้ คือ ขนาดจิ๋ว (พกใส่กระเป๋า หิ้วหรือสะพายได้),ขนาดเล็ก(D), ขนาดกลาง(E), และขนาดใหญ่(D) วิธีใช้ 1.ปิดวาวล์ให้แน่นสนิทก่อน 2. ต่อหัวเกจ์เข้ากับท่อออกซิเจนใต้หัววาวล์ โดยใช้กุญแจเลื่อนหมุนจนแน่น การให้ออกซิเจนที่บ้าน

  2. 3. ถ้าใช้ออกซิเจนมากกว่า 2 ลิตรต่อนาทีควรต่อ กระป๋องทำความชื้นเข้ากับโฟลมิเตอร์ ดังรูป 4. ต่อสายน้ำแก๊สออกซิเจนเข้ากับโฟลมิเตอร์ หรือกระป๋องน้ำทำความชื้น 5. เปิดวาวล์และหมุนปุ่มโฟลมิเตอร์เพื่อเปิดอัตราไหล ของแก๊สตามที่เด็กต้องการแล้วต่อสายนำแก๊ส ออกซิเจนเข้ากับตัวเด็ก 6. เมื่อไม่ต้องการให้ออกซิเจน ปิดวาวล์และปิดโฟลมิเตอร์ ถอดสายนำแก๊สออกจากตัวเด็ก

  3. 1. ไม่ควรรอให้ใช้แก๊สออกซิเจนจนหมดแท็งก์ควรสังเกตจากตัวเลขที่หน้าปัดของ เกจ์ว่าแก๊สลดลงถึงระดับแล้ว ถ้าเกจ์ลดลงถึงระดับ 100 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ควนำไปเติมได้ 2. แท็งก์เล็กที่วางบนรถเข็นและแท็งก์ขนาดจิ๋ว ที่ใส่กระเป๋าหิ้วสะพายได้เหมาะสำหรับใช้ขณะ เดินทาง 3. การนำแท็งก์ติดไปในรถยนต์ ควรวางบนที่นั่ง และคาดเข็มขัดนิรภัยไว้เพื่อป้องกันการ ระเบิดของแท็งก์ ห้ามวางแท็งก์ในที่ร้อน 4. ถ้าหากแท็งก์ชำรุด ควรรีบเปลี่ยนหรือติดต่อบริษัทที่ขายแท็งก์ออกซิเจนควรติด ชื่อบริษัทที่ขายออกซิเจนแขวนไว้กับแท็งก์ออกซิเจน ชื่อบริษัท...................................................................... โทรศัพท์.....................................ที่อยู่............................................. 5. ถ้าต่อกระป๋องน้ำทำความชื้น ควรถอดล้างกระป๋องทุกวันแล้วเช็ดให้แห้งก่อน เติมน้ำต้มสุกที่ กรองแล้ว ให้ถึงขีดที่กำหนด แล้วจึงต่อเข้ากัลโฟลมิเตอร์ การดูแลแท็งก์ออกซิเจนที่บ้าน

  4. ออกซิเจนกับความปลอดภัยออกซิเจนกับความปลอดภัย • ออกซิเจนเป็นแก๊สไวไฟ อาจติดหรือระเบิดได้ ถ้าถูกับเปลวไฟหรือ ความร้อน ดังนั้น จึงควรมีมาตรการการดูแลดังนี้ 1. ห้ามสูบบุหรี่ในห้องที่มีแท็งก์ออกซิเจน ติดป้าย “ห้ามสูบบุหรี่” ในห้องที่ผู้ป่วยอยู่ 2. ไม่ควรตั้งแท็งก์ใกล้เตาไฟ ขณะให้ออกซิเจน ตัวเด็กควรอยู่ห่าง เตาไฟในระยะรัศมี 6-8 ฟุตขึ้นไป

More Related