370 likes | 582 Views
หน่วยวิจัยนวัตกรรมสารสนเทศ และระบบห้องสมุด Walai AutoLib. Last update 02/07/2010. ประวัติและความเป็นมา. เริ่มเมื่อต้นปี 2548 มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ทดแทนระบบ VTLS Classic ที่ใช้งานอยู่
E N D
หน่วยวิจัยนวัตกรรมสารสนเทศหน่วยวิจัยนวัตกรรมสารสนเทศ และระบบห้องสมุดWalai AutoLib Last update 02/07/2010
ประวัติและความเป็นมา • เริ่มเมื่อต้นปี 2548 มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ทดแทนระบบ VTLS Classicที่ใช้งานอยู่ • โดยมีประเด็นที่ค่าบำรุงรักษา และศักยภาพของระบบเดิมที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของห้องสมุดในปัจจุบันได้ครบถ้วน • มุ่งพัฒนาเพื่อใช้ภายในองค์กรเป็นอันดับแรก ระบบต้องตอบสนองงานพื้นฐานของห้องสมุดมหาวิทยาลัยได้ครบถ้วน
ได้รับทุนพัฒนาจาก สกอ. วัตถุประสงค์คือโปรแกรมต้องเป็นไปตามมาตรฐานสากล • มีชุดคำสั่งที่รองรับงานพื้นฐานของห้องสมุดมหาวิทยาลัยของประเทศไทย • รองรับการการทำงานร่วมกันระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เช่น Union Catalog, Broadcast Search เป็นต้น July 2548
1 2 3 4 ปัญหาและอุปสรรคในระยะเริ่มต้น ความน่าเชื่อถือของระบบของคนไทย Site Reference ของระบบ ปัญหาด้าน User และ Change Management ความซับซ้อนของระบบงานห้องสมุด
พัฒนาการของ Walai AutoLib ระยะเริ่มต้น ปัจจุบัน อนาคต
ความก้าวหน้าในการพัฒนาระบบความก้าวหน้าในการพัฒนาระบบ Phase V Phase N Information Portal Phase III Phase IV DCMS & UC Phase I Phase II Library System
ผลงานระยะเริ่มต้น • พัฒนาระบบตาม TOR ของ สกอ. • มีระบบย่อยจำนวน 6 โมดูล ได้แก่ Policy management, Acquisition, Cataloging, Circulation, Serials Control, Web OPAC • เริ่มทดสอบโมดูลพื้นฐาน ณ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ม.วลัยลักษณ์ • เริ่มพัฒนา Authority Controlและ Inventory
ผลงานในปัจจุบัน • ระบบสามารถให้บริการแก่สมาชิกแบบครบวงจรทั้ง ณ จุดให้บริการและผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • ระบบมีความยืดหยุ่นสูง เพื่อรองรับนโยบายการให้บริการที่แตกต่าง ทั้งต่างห้องสมุดสาขาและต่างสถาบัน
Identified สมาชิกด้วยรหัสบาร์โค้ด ภาพถ่าย หรือลายนิ้วมือ • บันทึกภาพและอัพเดทข้อมูลสมาชิก ณ จุดบริการ • สนับสนุนอุปกรณ์เช่น Self Check, และ RFID
เป็นระบบ LMS ขนาดใหญ่ที่มีผู้ใช้มากสถาบันที่สุดในประเทศไทย • เป็นระบบจัดการเลขมาตรฐานสากลแห่งชาติ (ISN Management) • กำลังจะเป็น Core ของ Union Catalog และ TDCMS ของประเทศ
WULIB Project Research & Business Model Library System Hardware Digital Library แผนงานในอนาคต
งานวิจัยและพัฒนา การเรียนการสอน โมเดลเชิงธุรกิจ สร้างบัณฑิตสู่ตลาดงาน
WULIB & Library 2.0 • พัฒนาแนวคิด Library 2.0 สู่การประยุกต์เพื่อใช้งานจริงในห้องสมุด • Onsite servicesเพื่อให้ผู้ใช้ได้รับความสะดวกสบาย มุ่งเน้นบริการใหม่ๆ ทันสมัย ให้กับผู้ใช้บริการ • Online servicesสามารถใช้บริการจากที่ใดก็ได้ มีส่วนร่วม ปฏิสัมพันธ์ เป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนบริการของห้องสมุด
WULIB Web Portal • Content Management System (CMS) สามารถรวบรวม สร้าง เผยแพร่ ให้บริการสารสนเทศร่วมกันระหว่างห้องสมุดและผู้ใช้ผ่านโมดูล CMS โดยไม่ต้องอาศัยผ่ายจัดทำเว็บของห้องสมุด • Dynamic Search Systemระบบสืบค้นทรัพยากรที่ง่ายต่อการใช้งาน สามารถทำ Tag, Rating, Review, Broadcast search ตลอดจนช่วยห้องสมุด Catalog ผ่านหน้าจอสืบค้นได้
WULIB & Informatics • R&Dเป็นจุดตั้งต้นในการหาหัวข้อวิจัยสำหรับอาจารย์ นักศึกษา ด้านการออกแบบ เขียนโปรแกรม สร้างอัลกอริทึม และแอพพลิเคชั่น • Library Professionalเพื่อสร้างบัณฑิตที่ผ่านกระบวนงานที่ครบถ้วน สามารถทำงานได้ทันทีเมื่อจบการศึกษา • Commercial Software & Hardwareเป็นผู้นำธุรกิจด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีห้องสมุด
Walai AutoLib ติดต่อ บำรุงรักษา ติดตั้ง สำหรับห้องสมุดที่สนใจ แจ้งความประสงค์ผ่าน สกอ. หรือ มวล. สถาบัน–สกอ. สถาบัน-มวล. สถาบัน/มวล.
1 2 3 มวล. ติดตั้ง อบรม MA ระบบแบบ remote 4 มวล. ติดตั้ง อบรม MA ระบบแบบ ณ ไซต์งาน เงื่อนไขการใช้บริการติดตั้งและบำรุงรักษาระบบ ดำเนินการติดตั้ง อบรม และ MA ระบบเอง มวล. ติดตั้งอบรมให้ สถาบันดูแลระบบเอง
1 รายนามห้องสมุดที่ดำเนินการติดตั้งไปแล้ว ห้องสมุดมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 3 แห่ง • ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช • ศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี • ศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วิทยาเขตกรุงเทพมหานคร
2 ห้องสมุดสถาบันนำร่องของ สกอ. • ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร องค์การมหาชน • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร 5 วิทยาเขต • วิทยาเขตเทเวศร์ • วิทยาเขตพระนครเหนือ • วิทยาเขตโชติเวช • วิทยาเขตพาณิชพระนคร • วิทยาเขตชุมพรเขตอุดมศักดิ์ • มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ
2 3 ห้องสมุดสถาบันนำร่องสังกัด สกอ. (ต่อ) • มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ห้องสมุดเฉพาะอื่นๆ • ห้องสมุดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค • ห้องสมดสภาวิจัยแห่งชาติ • ห้องสมุด TCDC และ Mini TCDC • โครงการห้องสมุด OKMD ห้องสมุด TK Park
4 ห้องสมุดวิทยาลัยชุมชน • สำนักบริหาร กรุงเทพฯ • วิทยาลัยชุมชนแพร่ • วิทยาลัยชุมชนระนอง • วิทยาลัยชุมชนพังงา • วิทยาลัยชุมชนปัตตานี • วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส • วิทยาลัยชุมชนยะลา • วิทยาลัยชุมชนสตูล • วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว
4 ห้องสมุดวิทยาลัยชุมชน • วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน • วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร • วิทยาลัยชุมชนตราด • วิทยาลัยชุมชนยโสธร • วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร • วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี • วิทยาลัยชุมชนตาก • วิทยาลัยชุมชนพิจิตร • วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู • วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
คณะทำงาน ผู้บริหารโครงการ • รศ.ดร.พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ ที่ปรึกษาโครงการ • ดร. สลิล บุญพราหมณ์ • ดร. ฐิมาพร เพชรแก้ว • อาจารย์ศิวนาถ นันทพิชัย • อาจารย์สมจิตร ไชยศรียา • อาจารย์ศศิธร รัตนรุ่งโรจน์ • อาจารย์ยุทธนา เจริญรื่น
คณะทำงาน ผู้ดูแลระบบ • นายภานุวัตร์ แสงกระจ่าง ผู้ดูแลระบบจัดการฐานข้อมูล • นางสาวญาณิศชา บุญญวงศ์ • โปรแกรมเมอร์ Circulation module • นายศราวุธ มากชิต Acquisition module • นายธาริต อ่าวเจริญ
คณะทำงาน Acquisition Serials module • นายชัยยันณ์ ดำแก้ว • นายนันธชัย ดับทุกข์ Cataloging module • นายศิริชัย เลี้ยงพันธุ์สกุล • นางสาววัชรี พืชโรจน์ OPAC module • นายเอกพล ปรีชา
คณะทำงาน Serials module • นางสาวพรพิมล วัชรกุล • นายณรงค์ ทองรักจันทร์ Authority module • นายวิทยา เทวรังษี Trainer & Coordinator • นางสาวจันทิมา สิงห์บำรุง • นางสาวประทุมพร วีระสุข • นายพีระยุทธ เมตปรีชา