610 likes | 920 Views
การเตรียมการเข้าสู่กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา. โดย รองศาสตราจารย์ ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม. ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2551. ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ
E N D
การเตรียมการเข้าสู่กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการเตรียมการเข้าสู่กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2551
ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วันที่ 2 กรกฎาคม 2552
ประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วันที่ 16 กรกฎาคม 2552
มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา - ด้านกายภาพ - ด้านวิชาการ - ด้านการเงิน - ด้านการบริหารจัดการ มาตรฐานด้านการดำเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา - ด้านการผลิตบัณฑิต - ด้านการวิจัย - ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม - ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา แบ่งกลุ่มสถาบันเป็น 4 กลุ่ม วิทยาลัยชุมชน สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี สถาบันเฉพาะทาง สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับ บัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก
เป้าหมาย สกอ. ปี 2552 เป็นปีแห่งคุณภาพการอุดมศึกษาไทย เริ่มต้นปฏิรูปการศึกษารอบ 2 (2552 - 2562) ปีแห่งคุณภาพการอุดมศึกษาไทย - ยกระดับคุณภาพในกลุ่มสาขาวิชา - ยกระดับองค์รวมของสถาบันอุดมศึกษา - พัฒนาคุรภาพอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม
ขีดความสามารถในการวิจัยของประเทศ IMD (The International Institute for Management Development) ชี้ว่าประเทศไทยมีเรื่องเร่งด่วนที่ควรแก้ไข 3 ประเด็น การเพิ่มการลงทุน เพื่อการวิจัยและพัฒนาให้สูงขึ้น การเพิ่มจำนวนและคุณภาพบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา การส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการวิจัยและ พัฒนามากขึ้น
การเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยและการเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยและ พัฒนาของประเทศ สกอ. - ดำเนินโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ งบประมาณ 9,000 ล้านบาท (9 มหาวิทยาลัย) ระยะเวลา 3 ปี (2553 - 2555) เป็นโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2) - โครงการ SP 2
มหาวิทยาลัย 69 แห่ง มีงบประมาณ 3,000 ล้าน (โครงการ SP 2) ระยะเวลา 3 ปี (2553 – 2555) สกอ. - จะจัดสรรเพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนอุดมศึกษา ตามแผน 15 ปี - จัดสรรให้ครบวงจร ตามกลุ่มอาจารย์ - จัดสรร “แบบเปิดกว้างและแข่งขัน” เพื่อให้เท่าเทียมกัน ให้โควต้าสำหรับมหาวิทยาลัยกลุ่มต่าง ๆ เน้นความโดด เด่น เป็นเลิศเฉพาะทาง อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education : TQF: HEd) บัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยั่งยืน
หลักการของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติหลักการของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ • ยึดหลักความสอดคล้อง พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 • มุ่งเน้นที่มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต (Learning Outcomes) • มุ่งประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่างๆ เข้าด้วยกันและเชื่อมโยง • เป็นเรื่องเดียวกัน • มุ่งให้คุณวุฒิหรือปริญญาของสถาบันอุดมศึกษาใดๆ เป็นที่ยอมรับ • และเทียบคียงกัน
หลักการสำคัญของ TQF • เน้นการกำหนด Learning Outcomes • เน้นการประเมินตนเอง (Internal Evaluation) ตาม • Learning Outcomes • ดำเนินการร่วมกันในแต่ละสาขา • แต่ละกลุ่มของสถาบันอุดมศึกษาเอาไปจัดจุดเน้น/ • จุดเด่นของตนเอง (เห็นด้วยไหม)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นกรอบมาตรฐาน ให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแนว ทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้สามารถผลิตบัณฑิต ที่มี คุณภาพและเพื่อประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิในระดับ อุดมศึกษา
มาตรฐานคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชา หมายถึง กรอบที่กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตใน แต่ละระดับคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชา - กำหนดคุณลักษณะของบัณฑิต - ปริญญา - องค์ความรู้ที่เป็นเนื้อหา ที่จำเป็นจะต้องมีในหลักสูตร สาขา/สาขาวิชา และระดับคุณวุฒิ
มาตรฐานคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชา เป็นหลักประกันว่าบัณฑิต ที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษา ต่าง ๆ ในสาขา/สาขาวิชา และระดับคุณวุฒิเดียวกัน จะมีผลการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่าที่กำหนด NOTE: - สถาบันอุดมศึกษา สามารถเพิ่มเนื้อหาวิชาที่นอกเหนือจาก ที่กำหนดได้ และตรงตามความต้องการหรือเอกลักษณ์ของ แต่ละสถาบัน (มคอ. 1) - สกอ. มอบคณะผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา/สาขาวิชาร่วมกัน พัฒนา
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วย ระดับคุณวุฒิ ระดับที่ 1 อนุปริญญาตรี (3 ปี) ระดับที่ 2 ปริญญาตรี ระดับที่ 3 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับที่ 4 ปริญญาโท ระดับที่ 5 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับที่ 6 ปริญญาเอก
คุณภาพของบัณฑิต ต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่ กกอ. กำหนดและต้องครอบคลุมอย่างน้อย 5 ด้าน ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขา / สาขาวิชาที่เน้นปฏิบัติต้องเพิ่ม มาตรฐานผลการเรียนรู้ ด้านทักษะพิสัย
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ • พ.ศ. 2552 • มาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้าน ของแต่ละระดับคุณวุฒิ • ลักษณะของหลักสูตร • ชื่อปริญญา จำนวนหน่วยกิต • ระยเวลาในการศึกษาและการ • เทียบโอนผลการเรียนรู้ ต้องเป็นไปตามที่คณะกรรมการ การอุดมศึกษากำหนดไว้ในแนว ทางปฎิบัติ ให้ เป็นไปตามประกาศกระทรวง ศึกษาธิการ
กรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ สิ่งที่สถาบันการศึกษาต้องดำเนินการ : - พัฒนาหรือปรับปรุง รายละเอียดของหลักสูตรโดยจัดทำ - รายละเอียดของหลักสูตร - รายละเอียดของรายวิชา - รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)
สิ่งที่สถาบันการศึกษาต้องดำเนินการสิ่งที่สถาบันการศึกษาต้องดำเนินการ รายงานผล การดำเนินการของรายวิชา การดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) การดำเนินการของหลักสูตร ตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด ดำเนินการจัดการเรียนการสอนที่ครอบคลุม (Learning outcomes)
สิ่งที่สถาบันอุดมศึกษาต้องดำเนินการ (ต่อ) • พัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร โดยมีตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพหลักสูตร • การจัดการเรียนการสอน • เกณฑ์การประเมิน • จัดให้มีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุกๆ 5 ปี ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยมาตรฐานคุณวุฒิ ตามระดับคุณวุฒิของสาขา / สาขาวิชานั้นๆ
ให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เผยแพร่หลักสูตรที่ดำเนินการได้มาตรฐาน ตามประกาศนี้ ต่อสาธารณะตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการการอุดมศึกษา กำหนด
ให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาหลักสูตรให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาหลักสูตร • ปีการศึกษา 2553 - หลักสูตรที่จะรับนักศึกษาใหม่ เป็น ครั้งแรกต้องเป็นไปตามประกาศนี้ • ปีการศึกษา 2555 - หลักสูตรที่เปิดสอนอยู่แล้ว ต้อง • ปรับปรุงให้สอดคล้องกับประกาศนี้
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 สถาบันอุดมศึกษา ดำเนินการพัฒนา / ปรับปรุง รายละเอียดของ หลักสูตร ใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานคุณวุฒิสาขา / สาขาวิชา ของระดับคุณวุฒิเป็นแนวทางในการพัฒนา / ปรับปรุง ใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องกรอบคุณวุฒิ ระดับ อุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เป็นแนวทางในการพัฒนา / ปรับปรุง
สถาบันอุดมศึกษา จัดทำ • รายละเอียดของหลักสูตร • รายละเอียดของรายวิชา • รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) • ตามแบบ มคอ. 2 • มคอ. 3 • มคอ. 4
ให้สถาบันอุดมศึกษา • กำหนดระบบและกลไกของการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร • อนุมัติหลักสูตรก่อนเปิดสอน • เสนอสกอ.ภายใน 30 วัน นับแต่สภาสถาบันอนุมัติ • ประเมินหลักสูตร เพื่อพิจารณาอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุก 5 ปี
การบริหารจัดการหลักสูตรเพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะการบริหารจัดการหลักสูตรเพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะ ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนด พัฒนาอาจารย์ทั้งด้านวิชาการ วิธีการสอนและวิธีการวัดผล อย่างต่อเนื่อง จัดสรรทรัพยากร เพื่อการเรียนการสอนและการวิจัย ให้ เพียงพออย่างมีคุณภาพหรือใช้ทรัพยากรร่วมกัน จัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่ครอบคลุม มาตรฐานผลการเรียนรู้ทุกด้าน
จัดให้มีรายงานผลการจัดการศึกษาเป็นรายวิชาทุกภาค • การศึกษาและเน้นรายหลักสูตรทุกปีการศึกษา (แบบ มคอ. 5 มคอ.6 และ มคอ. 7) • ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานอย่าง • ต่อเนื่อง และรายงานผลการจัดการศึกษาต่อสภา • สถาบันอุดมศึกษาทุกปีการศึกษา
อาจารย์ผู้สอน รับผิดชอบในการจัดทำรายละเอียดของรายวิชาทุกรายวิชาในหลักสูตรและรายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ. 3 และมคอ. 4
การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตรตามแนวคิดของกรอบ TQF รายละเอียดของหลักสูตร (program specification) หมายถึง - คำอธิบายภาพรวมของการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการ สอนที่จะทำให้บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตรนั้นๆ โดยจะถ่ายทอดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของบัณฑิตที่กำหนด ไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาระดับชาติ และมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับการศึกษาของสาขา / สาขาวิชา ไปสู่การปฏิบัติ ในหลักสูตรซึ่งคณาจารย์ผู้สอน จะต้องร่วมมือกันวางแผน การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร
การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตรการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร • พิจารณาความพร้อมและศักยภาพของสถาบัน • สถาบันตั้งกรรมการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา..... ตามาตรฐานคุณวุฒิ • ระดับ.........สาขา/สาขาวิชา...........ประกอบด้วย : • -อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 2 คน • - ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขา / สาขาวิชา....ซึ่งเป็นบุคคล • ภายนอกอย่างน้อย 2 คน • - พัฒนาหลักสูตร โดยมีหัวข้อและรายละเอียดตามที่กำหนดในแบบ • มคอ. 2
การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร (ต่อ) • การพัฒนาหลักสูตร สาขา/สาขาวิชา.....สถาบันอาจเพิ่มเติมผลการเรียนรู้ • ที่คาดหวัง นอกจากมาตรฐานที่กำหนด โดยแสดงแผนที่การกระจายความ รับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) • - ความรับผิดชอบหลัก • - ความรับผิดชอบรอง
รายละเอียดของหลักสูตร • ช่วยอธิบายให้นักศึกษาทราบว่าตนต้องเรียนวิชาอะไรบ้าง • เข้าใจถึงวิธีการสอน วิธีการเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล • ทำให้มั่นใจว่าเมื่อเรียนสำเร็จแล้วจะบรรลุผลการเรียนรู้ ตามที่ • กำหนดไว้ในหลักสูตร • แสดงความสัมพันธ์ของหลักสูตรกับองค์ประกอบในการเรียน เพื่อนำไปสู่คุณวุฒิตามที่กำหนดในมาตรฐานคุณวุฒิ
การจัดทำรายละเอียดของรายวิชาการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา • ข้อมูลแนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชา • วัตถุประสงค์และรายละเอียดของเนื้อหาความรู้ • แนวทางปลูกฝังทักษะต่างๆ และคุณลักษณะอื่นๆ • กำหนดรายละเอียดระยะเวลาที่ใช้เรียน • วิธีการเรียนการสอน • การวัดและประเมินผลในรายวิชา • หนังสืออ้างอิง • กำหนดยุทธศาสตร์ในการประเมินรายวิชาและกระบวนการปรับปรุง
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนามรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม • ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการในรายวิชาหรือ • กิจกรรม • ความรู้ ความเข้าใจที่นักศึกษาจะได้รับจากการออกฝึก • กระบวนการ / วิธีการปลูกฝังทักษะและคุณลักษณะอื่นๆ • เกณฑ์การวัดและประเมินผลนักศึกษาและการประเมิน การดำเนินการ
การประกันคุณภาพหลักสูตรการประกันคุณภาพหลักสูตร • การบริหารหลักสูตร • การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ • การบริหารคณาจารย์ • การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน • การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา • ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรือ ความพึงพอใจ • ของผู้ใช้บัณฑิต • ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน
การประกันคุณภาพหลักสูตร ดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกหลักสูตร กำหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินที่สะท้อนการ ดำเนินงานตามกรอบ TQF ดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามระบบประกันคุณภาพ ภายในของหลักสูตร รายงานผลการดำเนินงานต่อสภาสถาบันฯ สกอ. และ สาธารณะ นำผลการประเมินมาปรับปรุงคุณภาพหลักสูตรให้ทันสมัย อยู่เสมอ