1 / 16

ประสบการณ์การให้บริการปรึกษา ในงานป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในโรงพยาบาลพัทลุง

ประสบการณ์การให้บริการปรึกษา ในงานป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในโรงพยาบาลพัทลุง. โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง. การป้องกันและควบคุมโรค Thalassemia. ป้องกันเด็กเกิดใหม่เป็นโรค เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย. การป้องกันเด็กเกิดใหม่เป็นโรค.

tao
Download Presentation

ประสบการณ์การให้บริการปรึกษา ในงานป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในโรงพยาบาลพัทลุง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประสบการณ์การให้บริการปรึกษาในงานป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในโรงพยาบาลพัทลุงประสบการณ์การให้บริการปรึกษาในงานป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในโรงพยาบาลพัทลุง โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง

  2. การป้องกันและควบคุมโรค Thalassemia • ป้องกันเด็กเกิดใหม่เป็นโรค • เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย

  3. การป้องกันเด็กเกิดใหม่เป็นโรคการป้องกันเด็กเกิดใหม่เป็นโรค • Health education • ค้นหาคู่สมรสที่เป็นคู่เสี่ยง • ให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม • ทำ PND • มีกฎหมายรองรับการยุติการตั้งครรภ์ กรณีบุตรเป็นโรคร้ายแรง

  4. เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย โดยดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ในหญิงตั้งครรภ์ • ประชุมคณะกรรมการ MCH Board เพื่อหาแนวทางดำเนินงาน • ประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะกรรมการบริหารในการประชุมประจำเดือน • จัดตั้งเครือข่ายดำเนินงาน • อบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ที่ผิดชอบ • ตรวจคัดกรองโรคธาลัสซีเมียด้วยวิธี OF, DCIP • เจาะน้ำคร่ำส่งตรวจโครโมโซมที่ รพ.มอ. (พค. 2544) • ระบบการส่งต่อที่ชัดเจน

  5. เครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย สถานีอนามัย ส่งหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทุกรายไปตรวจเลือด ที่ รพช. ให้คำแนะนำแก่คู่สมรส

  6. เครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย รพช. ให้คำแนะนำแก่คู่สมรส Screening test ด้วยวิธี OF, DCIP ส่งเลือดที่ Screening test +ve ไปตรวจยืนยัน ติดตามคู่สมรสที่เป็นคู่เสี่ยงเพื่อส่งต่อ รพ.พัทลุง

  7. เครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย รพ.พัทลุง ให้การปรึกษาแก่คู่สมรส Screening test เช่นเดียวกับ รพช. ตรวจ confirm ด้วย Electrophoresis และMicroclolum ส่งตรวจยืนยันโดยวิธี PCR ที่ รพ.มอ. (กรณีที่เป็น  - thal trait ทั้งคู่) ทำ PND โดยวิธี Amniocentesis ส่งน้ำคร่ำตรวจที่ รพ.มอ. ทุกวันอังคาร และวันพฤหัสบดี พร้อมส่งเลือดสามี และภรรยา Terminate of pregnancy กรณีเป็นโรคร้ายแรง

  8. Clinical Guideline forThalassemia Prevention and Control First ANC ตรวจ OF, DCIP/ Hct, MCV นัดสามีและภรรยา ฟังผลเลือดพร้อมกัน +ve -ve -ve เจาะเลือดสามี ตรวจ OF, DCIP/ Hct, MCV +ve -ve ส่งตรวจยืนยัน Hb typing +ve -ve Counseling คู่เสี่ยง (-thal ส่งตรวจ PCR ที่ รพ.มอ.) Refer normal ทำ PND abnormal ANC ตามปกติ Therapeutic Abortion

  9. ขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยธาลัสซีเมีย รพ.พัทลุง ANC CBC OF/ DCIP Positive Electro phoresis WARD / OPD CBC % HbA2,E hemolysate รพช. คลินิก / รพ.เอกชน CBC OF/ DCIP Positive แพทย์วินิจฉัย CBC : Hb, Hct, MCV, Rbc morphology

  10. การวินิจฉัยธาลัสซีเมียการวินิจฉัยธาลัสซีเมีย การวินิจฉัยทารกในครรภ์ 1. gene โดยวิธี PCR จาก AF หรือ CVS หรือ Cord blood 2. Hb Typing จาก cord blood

  11. เป้าหมายการค้นหาคู่เสี่ยงเป้าหมายการค้นหาคู่เสี่ยง 1 – trait + 1 – trait Hb Bart’s hydrops fetalis • - trait +  - trait  - Thalassemia • - trait + HbE – Trait  - Thalassemia HbE

  12. ข้อมูลการตรวจเลือดเพื่อคัดกรองพาหะโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย โรงพยาบาลพัทลุง

  13. ข้อมูลการตรวจเลือดเพื่อคัดกรองพาหะโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย โรงพยาบาลพัทลุง ได้ตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ทุกรายที่มาฝากครรภ์ ตั้งแต่ ปี 2544

  14. ปัญหาการดำเนินงานป้องกันโรคธาลัสซีเมียปัญหาการดำเนินงานป้องกันโรคธาลัสซีเมีย 1. ระบบการส่งต่อคู่เสี่ยงจาก รพช. มายัง รพท. ล่าช้า 2. ติดตามสามีมาตรวจไม่ได้ 3. มาฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์มาก 4. ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย

  15. ค่าใช้จ่ายต่อคน ต่อปี และค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปี ในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง

  16. รายงานการตรวจคัดกรองโรคเลือดจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ โรงพยาบาลพัทลุง

More Related