270 likes | 536 Views
Neurosurgery Clinical tracers. Brain tumors. Introduction. เป็นโรคที่พบบ่อยของสาขาประสาทศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราชประมาณ 500 รายต่อปี มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยรุนแรง แม้มีอัตรารอดชีวิต แต่อาจทำให้เกิดความพิการได้ และมีโอกาสกลับเป็นซ้ำ บุคลากรในสาขามีศักยภาพ
E N D
Introduction • เป็นโรคที่พบบ่อยของสาขาประสาทศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราชประมาณ 500 รายต่อปี • มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยรุนแรง แม้มีอัตรารอดชีวิต แต่อาจทำให้เกิดความพิการได้ และมีโอกาสกลับเป็นซ้ำ • บุคลากรในสาขามีศักยภาพ • สาขามีความพร้อมในเรื่องของ technologyการรักษา
Goals • อัตราผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงหลังผ่าตัดไม่เกิน 2 % • อัตราการงด เลื่อนผ่าตัด ไม่เกิน 3 % • จำนวนวันนอนในโรงพยาบาล Uncomplexน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 วัน, complexน้อยกว่าหรือเท่ากับ 21วัน • อัตราผู้ป่วยได้รับการวางแผนจำหน่ายสำเร็จ 100 %
Problems • ผู้ป่วยที่มารับบริการที่ปริมาณมาก ผ่าตัดไม่ทัน • ผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาลนานกว่าที่ควรจะเป็น • ไม่มีเตียงรับไว้ในโรงพยาบาล • การงดผ่าตัด • การเลื่อนการผ่าตัด • ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
Problems • การรักษาทำได้ไม่ครบวงจร เช่น หลังผ่าตัดเหลือเนื้องอกขนาดเล็กต้องส่งไปรับการทำ radiosurgery ที่โรงพยาบาลอื่น
Processes • OPD • Ward • OR • ICU • Refer
OPD • Preoperative work up ประเด็นปัญหา การแก้ไข Laboratoryเจาะไม่ครบตามที่จำเป็นและไม่เจาะก่อนผ่าตัดนานจนเกินไป FilmCT, MRI สูญหาย กำหนด routine lab ของทางหน่วย Neuro และจองเลือดจาก OPD เตรียม Filmให้ครบก่อนรับไว้ในโรงพยาบาล Imaging center
OPD • Consultation ประเด็นปัญหา การแก้ไข ขาดการปรึกษาแพทย์สาขาอื่นร่วมประเมินและดูแลก่อนผ่าตัดทำให้การดูแลรักษาไม่ได้ประสิทธิภาพเท่าที่ควร คิวรับปรึกษานาน ควรปรึกษาแพทย์สาขาอื่นที่ต้องร่วมให้การประเมินและดูแลรักษาผู้ป่วยตั้งแต่แผนกผู้ป่วยนอก มีการประสานกันระหว่างภาควิชาในการปรึกษาที่แผนกผู้ป่วยนอก
OPD • การจองเตียงผ่าตัด ประเด็นปัญหา การแก้ไข คิวการผ่าตัดนาน ทำผ่าตัดนอกเวลา เพิ่มจำนวนเตียงไอซียู และบุคคลากร
OPD • การติดตามการรักษาผู้ป่วยหลังผ่าตัด ประเด็นปัญหา การแก้ไข ข้อมูลการรักษา, การผ่าตัดไม่ครบถ้วน แพทย์ประจำบ้านรับผิดชอบเรื่องการสรุป summary chart ให้มีประสิทธิภาพและตรวจก่อนคืน OPD card
Ward • Preoperative ประเด็นปัญหา การแก้ไข ให้ข้อมูลกับผู้ป่วยให้ครอบคลุมตั้งแต่ที่แผนกผู้ป่วยนอกโดยแพทย์เจ้าของไข้ ทบทวนการให้ข้อมูลที่ผู้ป่วยได้รับโดยพยาบาล วินิจฉัยโรคร่วมของผู้ป่วยก่อนผ่าตัดที่ OPD ผู้ป่วยไม่ทราบข้อมูลเรื่องโรคการรักษา, ความเสี่ยง, การพยากรณ์โรค, และระยะเวลาการอยู่โรงพยาบาล การรักษาโรคร่วมก่อนผ่าตัด
Ward • Preoperative ประเด็นปัญหา การแก้ไข การเขียน Consent form ไม่สมบูรณ์ ผู้ป่วยรายที่ต้องรับไว้ในรพ.เพื่อผ่าตัดให้แพทย์เจ้าของไข้ให้ข้อมูลและเซ็น consent form ตั้งแต่แผนกผู้ป่วยนอก
Ward • Postoperative ประเด็นปัญหา การแก้ไข ผลแทรกซ้อนจากการที่ออกจากไอซียูเร็วเกินไป ผลแทรกซ้อนจากการที่วอร์ดดูแลไม่ทั่วถึงจากบุคคลากรไม่พอ เพิ่มจำนวนเตียงไอซียู เพิ่มจำนวนบุคคลากรให้เหมาะสมกับจำนวนผู้ป่วย
Ward • Postoperative ประเด็นปัญหา การแก้ไข การปรึกษาการฉายรังสี ผู้ป่วยอาศัยอยู่ต่างจังหวัดและทางรังสีรักษาไม่มีเตียง ทำให้ผู้ป่วยต้องอยู่รพ.ต่อนานหลังผ่าตัดทำให้มีผลกระทบเรื่องจำนวนเตียง ประสานงานกับหน่วยReferเพื่อส่งผู้ป่วยไปรับรังสีรักษาต่อที่รพ.ที่อยู่ใกล้บ้าน ปรึกษารังสีรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกในช่วงที่มา follow-up
Ward • Postoperative ประเด็นปัญหา การแก้ไข Routine consultation เวชศาสตร์ฟื้นฟูสำหรับผู้ป่วยที่มี disability การตัดสินใจปรึกษาเวชศาสตร์ฟื้นฟู, กายภาพบำบัดช้า
Ward • Postoperative ประเด็นปัญหา การแก้ไข -มีเกณท์การคัดกรองผู้ป่วยชัดเจน - มีการให้ข้อมูลผู้ป่วยตั้งแต่ OPD ไม่สามารถ Discharge planning ได้ตาม LOS ที่กำหนด ระยะเวลาการอยู่รพ. ผู้ป่วยไม่ซับซ้อนควรน้อยกว่า 10 วันและผู้ป่วยซับซ้อนควรน้อยกว่า 21 วัน
Ward • Postoperative ประเด็นปัญหา การแก้ไข -ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยก่อนกลับบ้านเรื่องการปฏิบัติตนและการติดตามการรักษา -โครงการเพิ่มประสิทธิภาพเตรียมความพร้อมผู้ป่วย/care giver ก่อนกลับบ้าน -ติดต่อปสง.กับรพ.ที่เกี่ยวข้องและมีเครือข่ายการติดตามต่อเนื่อง Discharge planning ระยะเวลาการอยู่รพ. ผู้ป่วยไม่ซับซ้อนควรน้อยกว่า 10 วันและผู้ป่วยซับซ้อนควรน้อยกว่า 21 วัน
OR • งด/เลื่อนผ่าตัด ไม่เกิน 3 % ประเด็นปัญหา การแก้ไข สั่งเครื่องมือผ่าตัดเพิ่ม จัดทำบัญชีประวัติและการดูแลรักษาเครื่องมือผ่าตัด ขาดเครื่องมือผ่าตัด
OR • ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหลังผ่าตัด ไม่เกิน 2 % ประเด็นปัญหา การแก้ไข เพิ่ม Intraopertive neurophysiologic monitoring ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหลังผ่าตัด
OR • ภาวะแทรกซ้อนจากการจัดท่า 0 % ประเด็นปัญหา การแก้ไข -จัดทำคู่มือการจัดท่าผู้ป่วยระหว่างผ่าตัด -มีแนวปฏิบัติในการจัดท่าผู้ป่วยระหว่างผ่าตัด และprotect skin Nerve injury Pressure ulcer
ICU • การใช้เตียง ICU ประเด็นปัญหา การแก้ไข เพิ่มจำนวนเตียงไอซียู กำหนดเกณฑ์ admittion criteria ใน ICU จำนวนเตียงไม่พอกับการผ่าตัด
ICU • ReadmitICU 0 % ประเด็นปัญหา การแก้ไข การกำหนดหลักเกณฑ์การออกจากไอซียู ผู้ป่วย readmit ICU
อื่นๆ ประเด็นปัญหา การแก้ไข รวบรวมข้อมูลและเสนอคณะฯเพื่อแก้ไข ไม่มีradiosurgery ต้องส่งรักษาที่โรงพยาบาลอื่น
Plans to excellence • OPD • ปรับระบบการเตรียมผู้ป่วยก่อนรับไว้ในรพ. • Ward • การทำ Discharge planning
Plans to excellence • OR • Intraoperative neurophysiologic monitoring • การทำประวัติเครื่องมือและการดูแลรักษาเครื่องมือผ่าตัด • ICU • เกณฑ์การรับและจำหน่ายออกจาก ICU • เพิ่มจำนวนเตียง