140 likes | 574 Views
โครงงานสุขภาพ. สารฟอกขาวในถั่วงอก. เสนอ. ดร. สุมน คณานิตย์. M.1/16 –DEC.2553. 1. 2. 3. 4. 5. 6. ด.ช. ณัฐชนน จิ รวงศ์ เลขที่ 16. ด.ช. วร วุฒิ มะพารัมย์ เลขที่ 47. ด.ช. ธนพัฒน์ ภูมิ ยุทธิ์ เลขที่ 21. ด.ญ. พิชญา อิทธิพัทธ์ไพศาล เลขที่ 35.
E N D
โครงงานสุขภาพ สารฟอกขาวในถั่วงอก เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์ M.1/16 –DEC.2553
1 2 3 4 5 6 ด.ช. ณัฐชนน จิรวงศ์ เลขที่16 ด.ช. วรวุฒิ มะพารัมย์ เลขที่ 47 ด.ช. ธนพัฒน์ ภูมิยุทธิ์ เลขที่ 21 ด.ญ.พิชญา อิทธิพัทธ์ไพศาล เลขที่ 35 ด.ช. พีรพัฒน์ชนะวรรณโณ เลขที่ 36 ด.ช. นวิน สุวรรณอัตถ์ เลขที่ 30 คณะทำงาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/16 M.1/16 –DEC.2553
แนวคิดที่จะทำโครงงาน 1. เพื่อตรวจสอบหาสารฟอกขาวที่ปนเปื้อนใน ถั่วงอกที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย 2. เพื่อทราบถึงสารฟอกขาวที่ปนเปื้อนในถั่วงอก 3. เพื่อทราบถึงพิษของสารฟอกขาวที่ปนเปื้อน ในถั่วงอก 4. เพื่อนำความรู้ที่ได้จากการทดลองไป ประยุกต์ใช้ใน การปฏิบัติงานจริง • 5 เพื่อให้ทุกคนมีสุขภาพแข็งแรง M.1/16 –DEC.2553
ตัวอย่างสารฟอกขาว สารฟอกขาว (โซเดียมไฮซัลไฟต์) หรือเรียกว่า ผงซักมุ้ง ใช้ฟอกแห-อวนให้ขาว ห้ามใส่ในอาหาร M.1/16 –DEC.2553
อันตรายจากสารฟอกขาว • 1. ทำให้ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดง • 2. ถ้าบริโภคเข้าไปจะทำให้เกิดอาการอักเสบใน • อวัยวะที่ไปสัมผัสเช่น ปาก ลำคอ กระเพาะอาหาร • 3. ทำให้เกิดอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก • ความดันโลหิตต่ำ ปวดท้อง ปวดศีรษะ อาเจียน • อุจจาระร่วง • 4.หากแพ้สารนี้อย่างรุนแรงจะทำให้ถ่ายเป็นเลือด • ชัก ช็อก หมดสติ หายใจไม่ออก ไตวาย และ • เสียชีวิตในที่สุด M.1/16 –DEC.2553
ตัวอย่างชุดทดสอบ ตัวอย่างของชุดทดสอบที่นำมาทดลอง M.1/16 –DEC.2553
แหล่งที่มาของถั่วงอกที่นำมาทดลองแหล่งที่มาของถั่วงอกที่นำมาทดลอง จากร้านค้าที่ 3 จากร้านค้าที่ 5 จากร้านค้าที่ 8 M.1/16 –DEC.2553
ขั้นตอนการดำเนินงาน 1 2 การทดลอง - ตักถั่วงอก ใส่ในถ้วย พอประมาณ - เติมน้ำสะอาดประมาณ 10มิลลิลิตร - บดถั่วงอกให้แตก เทน้ำลงในถ้วย ทดลอง - หยดน้ำยาในขวดหยด จำนวน 1 – 3 หยด แล้วเขย่าให้เข้ากัน M.1/16 –DEC.2553
สารละลายเป็น สีฟ้าอ่อน ผลการทดลอง 3 แสดงว่าไม่มีสารฟอกขาว จากการทดลองทั้ง 3 ครั้งไม่มีสารฟอกขาวเจือปน รับประทานได้ M.1/16 –DEC.2553
1 2 3 สารละลาย เปลี่ยนเป็น สีเขียว แสดงว่าไม่ มีสารฟอก ขาว สารละลายเปลี่ยนเป็นสีฟ้าอ่อนแสดงว่าไม่มีสารฟอกขาว สารละลาย เปลี่ยนเป็น สีเทา-ดำ แสดงว่า มีสารฟอกขาว สรุปผลการดำเนินงาน ถ้าหาก สารละลายเปลี่ยนเป็นสีเทา - ดำ แสดง ว่ามีสารฟอกขาวประเภทโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ เจือปน ห้ามรับประทาน M.1/16 –DEC.2553
ประโยชน์ที่ได้รับ 1 2 3 4 1 • ได้ทราบถึงอาหารที่มีสารปนเปื้อนที่จำหน่ายในท้องตลาดทั่วไป ได้นำความรู้ที่ได้จากการทดลองไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน นำผลการทดลองมาให้ความรู้แก่ ผู้บริโภค M.1/16 –DEC.2553
จบโครงงานสุขภาพ Thank You ! ขอบคุณครับ M.1/16 –DEC.2553