1 / 26

กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน

แนวปฏิบัติของกรมการจัดหางาน ในการสนับสนุนการบังคับใช้อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ. กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน. http://lmi.doe.go.th/. แนวปฏิบัติของกรมการจัดหางาน ในการสนับสนุนการบังคับใช้อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ. 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน.

Download Presentation

กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวปฏิบัติของกรมการจัดหางาน ในการสนับสนุนการบังคับใช้อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน http://lmi.doe.go.th/

  2. แนวปฏิบัติของกรมการจัดหางาน ในการสนับสนุนการบังคับใช้อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน 2. รายได้ของผู้มีงานทำจำแนกตามระดับ รายได้ต่อเดือน 3. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต 4. แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการบังคับใช้ อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ

  3. แนวปฏิบัติของกรมการจัดหางาน ในการสนับสนุนการบังคับใช้อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน 2. รายได้ของผู้มีงานทำจำแนกตามระดับ รายได้ต่อเดือน 3. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต 4. แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการบังคับใช้ อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ

  4. 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน ประชากรทั่วประเทศ 67.27 ล้านคน ผู้มีอายุต่ำกว่า 15 ปี 13.81 ล้านคน ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป 53.46 ล้านคน ผู้อยู่ในกำลังแรงงาน 38.44 ล้านคน ผู้อยู่นอกกำลังแรงงาน 14.82 ล้านคน ทำงานบ้าน 4.72 ล้านคน เรียนหนังสือ 4.23 ล้านคน หมายเหตุ : ข้อมูลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ปี 2553 อื่น ๆ 5.86 ล้านคน ที่มา : ข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติประมวลผลโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน

  5. จำนวนผู้มีงานทำ ปี 2549-2553 ที่มา : ข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติประมวลผลโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน

  6. ผู้มีงานทำจำแนกตามภาคการผลิต ภาคบริการ และภาคเกษตรกรรม ที่มา : ข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติประมวลผลโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน

  7. ผู้มีงานทำ จำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2549 - 2553 ที่มา : ข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติประมวลผลโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน

  8. ผู้มีงานทำที่จบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย จำแนกตามสายวิชา ปี 2549 - 2553 ที่มา : ข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติประมวลผลโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน 8

  9. ผู้ว่างงานและอัตราการว่างงาน ปี 2549 - 2553 ที่มา : ข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติประมวลผลโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน

  10. จำนวนผู้ว่างงาน จำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2549 - 2553 ที่มา : ข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติประมวลผลโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน

  11. แนวปฏิบัติของกรมการจัดหางาน ในการสนับสนุนการบังคับใช้อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน 2. รายได้ของผู้มีงานทำจำแนกตามระดับ รายได้ต่อเดือน 3. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต 4. แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการบังคับใช้ อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ

  12. รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้มีงานทำในแต่ละประเภทอาชีพปี 2552 50,001-100,000 บาท 567,386 คน1.5% 40,001-50,000 บาท 140,507 คน0.4% 100,000 บาทขึ้นไป33,936คน0.1% 10,000-20,000 บาท18,844,024 คน49.7% ต่ำกว่า 10,000 บาท16,898,223 คน44.6% 30,001-40,000 บาท489,514 คน1.3% 20,001-30,000 บาท 885,432 คน2.4% ที่มา : ข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติประมวลผลโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน

  13. แนวปฏิบัติของกรมการจัดหางาน ในการสนับสนุนการบังคับใช้อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน 2. รายได้ของผู้มีงานทำจำแนกตามระดับ รายได้ต่อเดือน 3. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต 4. แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการบังคับใช้ อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ

  14. โครงสร้างประชากรของประเทศไทยในช่วงปี 2543-2573 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคมผู้สูงอายุ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติประมวลผลโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน

  15. Ageing Society สังคมไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) คือสังคมที่มีประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในสัดส่วนร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ประเทศไทยเริ่มก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมาตั้งแต่ปี 2547 ในปี 2567 สังคมไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) คือสังคมที่มีประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในสัดส่วนร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด แนวโน้มการขาดแคลนแรงงาน

  16. ผลกระทบของ Ageing Society ประชากรวัยแรงงานมีจำนวนลดลง ประชากรที่อยู่ในวัยพึ่งพิงเพิ่มจำนวนสูงขึ้น ประชากรในวัยเด็กที่จะเข้ามาทดแทนกำลังแรงงานที่จะกลายเป็นผู้สูงอายุและกำลังโรยรา ไม่สามารถทดแทนกันได้อย่างเพียงพอ จากแนวโน้มความต้องการแรงงานที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในทุกๆปี ตามการเจริญเติบโตของภาวะเศรษฐกิจ ทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน แนวโน้มการขาดแคลนแรงงาน

  17. เศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น GDP Growth (IMF): 2554(4%), 2555(4.3%), 2556(4.5%) ที่มา : International Monetary Fund, IMF

  18. ค่าแรงของประเทศไทยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆค่าแรงของประเทศไทยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 25 เมษายน 2554 18

  19. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ทศวรรษหน้า ผู้ว่าการธนาคารแห่งประทศไทย ได้กล่าวในการสัมมนาวิชาการประจำปี 2010 ในหัวข้อ “ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ก้าวไหลสู่ทศวรรษหน้า” ที่โรงแรม Centara Grand ในวันที่ 21 กันยายน 2553 ว่า “ประเทศไทยมีโอกาสเสี่ยงที่จะตกอยู่ในกับดักของประเทศที่มีรายได้ระดับกลาง (middle-income trap)ถ้ายังไม่สามารยกระดับความสามารถในการแข่งขัน” พร้อมทั้งยังได้เสนอว่า • รัฐบาลต้องสร้างแรงจูงใจให้กับธุรกิจเพียงพอที่จะเพิ่มการลงทุนของภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลงทุนในการใช้เทคโนโลยีชั้นสูง • ประเทศไทยเผชิญกับการท้าทายในการปรับปรุงทักษะฝีมือของแรงงาน

  20. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยก้าวไกลสู่ทศวรรษหน้าขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยก้าวไกลสู่ทศวรรษหน้า เร่งพัฒนาศักยภาพ อย่างจริงจัง เร่งลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐาน ก้าวกระโดดไปสู่การ ผลิตด้วยเทคโนโลยีขึ้นสูง การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยเพื่อให้หลุดพ้นจากประเทศ ที่มีรายได้ระดับกลาง พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วิจัยและพัฒนา เอื้อต่อการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ หลุดพ้นความเสี่ยงที่จะตกอยู่ในกับดักของประเทศที่มีรายได้ระดับกลาง (Middle income country trap)

  21. ความจำเป็นในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจความจำเป็นในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เกิดการแข่งขันในภูมิภาคมากขึ้น ไม่สามารถพึ่งพิงแรงงานราคาถูกหรือเงินบาทอ่อนได้ตลอดไป แรงงานทักษะ บริการ สินค้า ทุน ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่จะเกิดขึ้นในปี 2558 ทำให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีมากขึ้นในภูมิภาคอาเซียน

  22. แนวปฏิบัติของกรมการจัดหางาน ในการสนับสนุนการบังคับใช้อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน 2. รายได้ของผู้มีงานทำจำแนกตามระดับ รายได้ต่อเดือน 3. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต 4. แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการบังคับใช้ อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ

  23. กำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการแนะแนวอาชีพกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการแนะแนวอาชีพ แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการบังคับใช้ อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ

  24. การให้คำแนะนำแก่ผู้สมัครงานการให้คำแนะนำแก่ผู้สมัครงาน แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการบังคับใช้ อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ

  25. การจัดหางานแก่ผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือการจัดหางานแก่ผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการบังคับใช้ อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ

  26. ขอบคุณ

More Related