720 likes | 1.5k Views
สาระความรู้. เกี่ยวกับ. วิชาวิทยาศาสตร์. จัดทำโดย. ด . ญ . ชฎาวรรณ พ่วงขำ ม. 1/2 เลขที่ 21. ด.ญ.สุธาทิพย์ วัฒน จันทร์ ม. 1/2 เลขที่ 44. Next. หน้าหลัก. เรื่อง กรด - เบส. เรื่อง กล้องจุลทรรศน์. เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร. เรื่อง เซลล์.
E N D
สาระความรู้ เกี่ยวกับ วิชาวิทยาศาสตร์ จัดทำโดย ด.ญ.ชฎาวรรณ พ่วงขำ ม.1/2 เลขที่21 ด.ญ.สุธาทิพย์ วัฒนจันทร์ ม.1/2 เลขที่44 Next
หน้าหลัก เรื่อง กรด - เบส เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร เรื่อง เซลล์
เรื่อง กรด - เบส กรด (acid) หมายถึง สารที่มีรสเปรี้ยว ซึ่งสามารถทำปฏิกิริยากับโลหะและคาร์บอเนต แล้วสามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินให้เป็นสีแดงได้ กรด แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ กรดอินทรีย์ และกรดอนินทรีย์ ส่วนชื่อเรียกของกรดนั้นจะมี 2 ชื่อ คือ กรดไฮโดร (Hydro) กับกรดออกซี่ (Oxy) Next
สมบัติโดยทั่วไปของสารละลายกรด 1. มีรสเปรี้ยว โดยเปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง 2. เป็นสารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) คือ นำไฟฟ้าได้ 3. มีค่า pH (Power Of Hydrogen Ion) น้อยกว่า 7 4. ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิดได้ผลิตภัณฑ์เป็นก๊าซไฮโดรเจน Next
เบส (base) หรือ ด่าง หมายถึง สารละลายที่มีรสขม สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินได้ โดยมีลักษณะลื่นๆสมบัติโดยทั่วไปของสารละลายเบส 1. มีรสฝาด ขม จะเปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน และเปลี่ยนสีฟีนอล์ฟทาลีนจากไม่มีสี เป็นสีชมพู 2. เป็นสารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) คือ นำไฟฟ้าได้ • 3. มีค่า pH (PowerOfHydrogenIon) มากกว่า 7 4. ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด ได้ผลิตภัณฑ์เป็นก๊าซไฮโดรเจน Next
1. ข้อใดเป็นสมบัติของกรด ก.เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน ข.ไม่กัดกร่อนหินปูน ง.กัดกร่อนโลหะเกิดแก๊สไฮโดรเจน ค.มีรสฝาด
ถูกต้องนะคะ Next
ผิดนะคะ Next
2. การทำปฏิกิริยาของเบสกันสารใดที่เกิดสารคล้ายสบู่ ข. เบสกับน้ำมันพืชหรือไขมันสัตว์ ก. เบสกับแอมโมเนียมไนเตรต ค. เบสกับกรดเกลือ ง. เบสกับชิ้นอะลูมิเนียม
ถูกต้องนะคะ Next
ผิดนะคะ Next
3. สารในข้อใดใช้ทำน้ำยาล้างห้องน้ำและเครื่องสุขภัณฑ์ ก. กรดแอซีติก โซดาซัก ข. กรดไนตริก กรดเกลือ ค. โซเดียมไฮดรอกไซด์ กรดซัลฟิวริก ง. แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์,โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์
ถูกต้องนะคะ Next
ผิดนะคะ Next
4. สาร A เปลี่ยนสีเจนเชียนไวโอเลตจากสีม่วงเป็นสีเขียว สาร A ควรเป็นสารในข้อใด ก. น้ำมะขาม ข. น้ำส้มสายชู ค. น้ำกรดซัลฟิวริก ง. น้ำยาเช็ดกระจก
ถูกต้องนะคะ Next
ผิดนะคะ Next
5. ถ้าสาร X มีสมบัติเป็นกลาง จะมีค่า pH เท่าไร ก. น้อยกว่า 7 ข. มากกว่า 7 ค. เท่ากับ 7 ง. ระหว่าง 5-6
ถูกต้องนะคะ Next
ผิดนะคะ Next
จบแบบทดสอบเรื่องกรด-เบสแล้วค่ะจบแบบทดสอบเรื่องกรด-เบสแล้วค่ะ Home
เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)คือ เครื่องมือขยายขอบเขตประสาทสัมผัสตา ให้เห็นสิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ เช่น จุลินทรีย์ เซลล์เม็ดเลือดแดง ประเภทของกล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Light Microscope)แสงที่ใช้ส่องดูวัตถุเป็นแสงจากหลอดไฟหรือแสงแดด โดยใช้กระจกเงาสะท้อนแสงเข้าสู่กล้อง เกิดการขยายภาพจากเลนส์กระจก เกิดภาพซึ่งสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron Microscope)ใช้ลำอิเล็กตรอน ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าแทนแสงสว่างที่มองเห็น และใช้เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้าแทนเลนส์แก้ว ใช้ลำอิเล็กตรอนจากปืนยิงผ่านเลนส์แม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อให้เกิดภาพบนจอรับภาพ มีกำลังขยายสูงกว่ากล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง แบ่งเป็น 2.1 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน (Transmission Electron Microscope)สามารถมองเห็นองค์ประกอบภายในของเซลล์ได้ชัดเจน มีกำลังขยายสูงมาก 2.2 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning Electron Microscope)ใช้ศึกษารูปร่างโครงสร้างและพิ้นผิวของเซลล์ภายนอก ไม่เห็นองค์ประกอบด้านใน Next
1. ภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงเป็นภาพอะไร ก.ภาพจริงหัวกลับ ข. ภาพเสมือนหัวกลับ ค. ภาพจริงหัวตั้ง ง. ภาพเสมือนหัวตั้ง
ถูกต้องนะคะ Next
ผิดนะคะ Next
2. เลนส์ใกล้ตามีกำลังขยาย 15 X เลนส์ใกล้วัตถุมีกำลังขยาย 20X ภาพที่เห็นจะมีกำลังขยายกี่เท่า ก. 150 ข. 200 ค. 300 ง. 350
ถูกต้องนะคะ Next
ผิดนะคะ Next
3. ถ้าภาพในกล้องจุลทรรศน์เห็นไม่ชัดเจนควรทำอย่างไร ก. หมันปุ่มปรับภาพละเอียด ข. หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ค. เลื่อนสไลด์ไปมา ง. หมุนกระจกเพื่อให้แสงเข้า
ถูกต้องนะคะ Next
ผิดนะคะ Next
4. การถือกล้องที่ถูกวิธีคือข้อใด ก. ถือ 2 มือที่บริเวณแขนกล้อง ข. ถือ 2 มือที่บริเวณฐานกล้อง ค. มือหนึ่งถือแขนกล้องและอีกมือหนึ่งถือบริเวณฐานกล้อง ง. มือหนึ่งถือแขนกล้องอีกมือหนึ่งจับบริเวณลำกล้อง
ถูกต้องนะคะ Next
ผิดนะคะ Next
5. ขนาดวัตถุที่เล็กที่สุดที่สามารถมองเห็นได้จากกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาคือ ก. 0.1 มิลลิเมตร ข. 0.1 ไมครอน ค. 0.2 ไมครอน ง. 0.05 ไมครอน
ถูกต้องนะคะ Next
ผิดนะคะ Next
จบแบบทดสอบเรื่องกล้องจุลทรรศน์จบแบบทดสอบเรื่องกล้องจุลทรรศน์ แล้วค่ะ Home
การเปลี่ยนแปลงของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร หมายถึงการที่สารมีสมบัติต่างไปจากเดิม อาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. การเปลี่ยนสถานะของสาร 2. การละลายของสาร 3. การเกิดปฏิกิริยาเคมี การเปลี่ยนสถานะของสาร ในธรรมชาติสารแต่ละชนิดจะปรากฏอยู่ในสถานะใดสถานะหนึ่ง ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส เราสามารถทำให้สารเปลี่ยนจากสถานะหนึ่งไปเป็นสถานะหนึ่งได้ และสามารถทำให้กลับมาอยู่ในสถานะเดิมได้อีก การเปลี่ยนแปลงสถานะของสารเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว และจากของเหลวเป็นแก๊สจะต้องทำให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคลดลงหรืออนุภาค เกิดการจับตัวกันน้อยลง ซึ่งทำได้โดยใช้พลังงานเข้าช่วย เมื่อให้ความร้อนแก่สารในสถานะของแข็งจะทำให้ของแข็งหลอมเหลวกลายเป็นของ เหลว และเมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลวจะทำให้ของเหลวกลายเป็นแก๊ส NEXT
1.การเปลี่ยนแปลงของสารแบ่งออกเป็นกี่ชนิด?1.การเปลี่ยนแปลงของสารแบ่งออกเป็นกี่ชนิด? ก. 1 ชนิด ข. 2 ชนิด ค. 3 ชนิด ง. 4 ชนิด
ถูกต้องจร้า เก่งมาก
ผิดจ๊ะ ทำข้อต่อไปเลยนะ NEXT
2. เราสามารถทำให้สารเปลี่ยนจากสถานะหนึ่งไปเป็นสถานะหนึ่งได้ และสามารถทำให้กลับมาอยู่ในสถานะเดิมได้อีกหรือไม่ ก. ได้ ข. ไม่ได้ ค. ไม่มีคำตอบ ง. กและขถูก
ถูกต้องจร้า เก่งมาก
ผิดจ๊ะ ทำข้อต่อไปเลยนะ NEXT
3. การเปลี่ยนแปลงสถานะของสารเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงอะไร ก.แสงอาทิตย์ ข. อากาศ ค. อุณหภูมิ ง. พลังงาน
ถูกต้องจร้า เก่งมาก
ผิดจ๊ะ ทำข้อต่อไปเลยนะ NEXT
4.จากสถานะการเปลี่ยนของแข็งไปเป็นของเหลวคืออะไร?4.จากสถานะการเปลี่ยนของแข็งไปเป็นของเหลวคืออะไร? ข. การหลอมเหลว ก.การแข็งตัว ง. ก และ ค ถูกต้อง ค.การควบแน่น
ถูกต้องจร้า เก่งมาก