421 likes | 729 Views
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖. 1. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖. ปรับปรุงรูปแบบการจ้างงาน เพื่อให้เกิดความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสอดคล้องกับนโยบายการแก้ไขปัญหาความขาดแคลน
E N D
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖ 1
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖ • ปรับปรุงรูปแบบการจ้างงาน เพื่อให้เกิดความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ • และประสิทธิผลสอดคล้องกับนโยบายการแก้ไขปัญหาความขาดแคลน • กำลังคนที่เป็นภารกิจสำหรับการปฏิบัติงานของ กระทรวงสาธารณสุข • - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ลงนามเมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๖ 2
คำนิยาม คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (กพส.) • หน่วยบริการ • - หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข • ว่าด้วยเงินบำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • สถานศึกษาในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่มีรายรับจากการผลิต ศึกษา ฝึกอบรม • และการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข 3
เงินรายได้ของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเงินรายได้ของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • เงินบำรุงตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเงินบำรุง • ของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือ • -เงินรายรับอื่นที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด พนักงานกระทรวงสาธารณสุข บุคคลซึ่งได้รับการจ้างและได้รับเงินค่าจ้างจากเงินรายได้ ของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขตามระเบียบนี้ 4
หมวด ๑ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข มี ๒ ประเภท ๑. ประเภททั่วไป ๒. ประเภทพิเศษ 5
กลุ่มตำแหน่ง มี ๓ กลุ่มตามลักษณะงาน ๒ .วิชาชีพเฉพาะหรือกลุ่มที่ต้องปฏิบัติภายใต้ พ.ร.บ.วิชาชีพ ๑. เทคนิค บริการ บริหารงานทั่วไป ๓. เชี่ยวชาญ 6
พกส. ต้องมีคุณสมบัติ มีสัญชาติไทย (ยกเว้น พกส. ชาวต่างประเทศ) มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปี 7
พกส. ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง/กรรมการ หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง ไม่เป็นผู้มีกายทุพพลภาพ/ไร้ความสามารถ/จิตฟั่นเฟือน 8
พกส. ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม(ต่อ) ไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เพราะกระทำความผิดทางอาญา ไม่เป็นข้าราชการ/ลูกจ้าง/พนักงาน ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ/ราชการส่วนท้องถิ่น ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก/ปลดออกหรือไล่ออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ 9
หมวด ๒ คณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข องค์ประกอบคณะกรรมการ การดำรงตำแหน่ง อำนาจหน้าที่ ของคณะกรรมการ 10
องค์ประกอบคณะกรรมการ • กรรมการโดยตำแหน่ง • - ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน • รองปลัดกระทรวงที่ได้รับมอบหมายเป็นรองประธาน • อธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการ ระดับกรม เป็นกรรมการ • หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านบริหารงานบุคคลระดับกระทรวง เป็นกรรมการและเลขานุการ 11
องค์ประกอบคณะกรรมการ กรรมการที่เป็นผู้แทนที่ปลัดกระทรวงฯ แต่งตั้ง จำนวน ๗ ท่าน -ผู้ทรงคุณวุฒิด้านบริหาร ด้านกฎหมาย และด้านยุทธศาสตร์ - ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข - นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด - ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป - พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 12
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ๑. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการจ้าง การสรรหา และเลือกสรรรวมทั้งแบบสัญญาจ้าง ๒. กำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่ม ๓. ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลัง ๔. กำหนดอัตราค่าจ้าง ค่าตอบแทน และสิทธิประโยชน์ต่างๆ ๕. กำหนดรูปแบบสัญญาจ้าง 13
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ(ต่อ)อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ(ต่อ) ๖. กำหนดแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน ๗. วิเคราะห์ วินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบังคับใช้ระเบียบนี้ โดยสามารถมอบอำนาจให้คณะอนุกรรมการดำเนินการ ต่อไปได้ตามความเหมาะสม ๘. แต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อทำการใดแทนได้ ๙. อำนาจหน้าที่อื่นๆที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ 14
วาระการดำรงตำแหน่ง คณะกรรมการที่มาจากการแต่งตั้งดำรงตำแหน่งคราวละ ๒ ปี ถ้าพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ไม่เกิน ๑ วาระ การพ้นจากตำแหน่ง ๑. ตามวาระ ๒. ตาย ๓. ลาออก ๔. ประธานคณะกรรมการให้ออก โดยมีมติให้ออกด้วยคะแนน เสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนคณะกรรมการทั้งหมด 15
หมวด ๓ ระบบการจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ให้ส่วนราชการเป็นผู้ว่าจ้าง ทำสัญญาจ้าง/คำสั่งปฏิบัติงาน การย้ายไปปฏิบัติงานในหน่วยบริการอื่น(กรมเดียวกัน) โดยได้รับความยินยอมของส่วนราชการคู่สัญญา ให้ถือว่าสัญญาจ้างเดิมยังมีผลใช้บังคับ ตำแหน่งและลักษณะงานเช่นเดียวกับข้าราชการ อาจแต่งตั้งเป็นผู้บังคับบัญชา หรือทำหน้าที่ทำนองเดียวกันเหมือนข้าราชการ 16
หมวด ๔ ค่าจ้างและสิทธิประโยชน์ ค่าจ้าง ๑. ให้นำบัญชีเงินเดือนข้าราชการ (ว 20/55) หรือบัญชีค่าจ้างลูกจ้างประจำ (ว 31/55) มาใช้กำหนดเป็นบัญชีค่าจ้าง พกส. ๒. การเพิ่มค่าจ้างและหรือค่าตอบแทนกรณีค่าจ้าง เต็มอัตรา ตามผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน ในวันที่ ๑ ตุลาคม 17
บัญชีอัตราค่าจ้างสำหรับพนักงานกระทรวงสาธารณสุขฯบัญชีอัตราค่าจ้างสำหรับพนักงานกระทรวงสาธารณสุขฯ 18
บัญชีอัตราค่าจ้างสำหรับพนักงานกระทรวงสาธารณสุขบัญชีอัตราค่าจ้างสำหรับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ข 19
หมายเหตุ 1. สายวิชาชีพ* ประกอบด้วยตำแหน่งซึ่งเป็นวุฒิที่ ก.พ. อนุมัติให้คัดเลือกบรรจุเท่านั้น 2. กลุ่มวิชาชีพเฉพาะ และสายงานวิชาชีพ อัตราค่าจ้างตามบัญชีนี้เป็นอัตราที่กำหนด ๑.2 เท่าไว้แล้ว 3. **สำหรับลูกจ้างชั่วคราวรายเดิมที่มีประสบการณ์ตามตำแหน่งที่มีลักษณะงานหรือหน้าที่ความรับผิดชอบที่สอดคล้องเหมือนกับตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ที่ได้รับการจ้างงาน ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2556 ข้อ 30 4. **กรณีสำหรับการปรับค่าจ้างเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อทุกประสบการณ์ 2 ปี แต่สูงสุดไม่เกิน 5 ช่วง (๑0 ปี) เฉพาะลูกจ้างชั่วคราวรายเดิมตำแหน่งปัจจุบันที่จะประเมินเข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 20
ตัวอย่างการจ้างลูกจ้างชั่วคราวรายเดือน (เงินบำรุง) รายเดิม เป็น พนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรณีที่ 1 กลุ่มบริการ ลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งพนักงานช่วยเหลือคนไข้ - มีวุฒิ ม.6 - จ้างงานตั้งแต่วันที่ 18 มิ.ย.44 - ปัจจุบันได้รับค่าจ้าง 7,734 บาท 23
เมื่อจ้างเป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตำแหน่งพนักงานช่วยเหลือคนไข้ จะได้รับค่าจ้าง ดังนี้ 1. ค่าจ้างตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง + คุณวุฒิที่จ้าง ม.3 หรือ ม.6 หรือเทียบเท่า 7,590 บาท 2. ระยะเวลาการจ้างงาน 18 มิ.ย.44 - 30 ก.ย.56 = 12 ปี 3 เดือน ค่าประสบการณ์ 10 ปี 5 ช่วง ๆ ละ 5% = 25% ได้รับการปรับค่าจ้าง = 7,590 x 25% = 1,897.50 = 1,900 รวมค่าจ้างที่จะได้รับ = 7,590 +1,900 = 9,490 บาท 24
กรณีที่ 2 กลุ่มวิชาชีพเฉพาะ ลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ - ได้รับวุฒิปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต เมื่อวันที่ 7 มี.ค.53 - ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง เมื่อวันที่ 21 มี.ค.53 - จ้างงานตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค.53 - ปัจจุบันได้รับค่าจ้าง 14,525 บาท 25
เมื่อจ้างเป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ จะได้รับค่าจ้าง ดังนี้ 1. ค่าจ้างตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง + คุณวุฒิที่จ้าง ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี (กลุ่มวิชาชีพเฉพาะ) 15,960 บาท 2. ระยะเวลาการจ้างงาน 1 พ.ค.53 - 30 ก.ย.56 = 3 ปี 6 เดือน ค่าประสบการณ์ 3 ปี 1 ช่วง ๆ ละ 5% = 5% ได้รับการปรับค่าจ้าง = 15,960 x 5% = 798 = 800 รวมค่าจ้างที่จะได้รับ = 15,960 + 800 = 16,760บาท 26
หมวด ๔ ค่าจ้างและสิทธิประโยชน์ (ต่อ) • มีสิทธิได้รับเงินเพิ่ม • - สำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ • -พื้นที่ทุรกันดาร • - พื้นที่พิเศษและขาดแคลนอัตรากำลังคน 27
สิทธิประโยชน์ • - การลาประเภทต่างๆ • - การได้รับค่าจ้างในระหว่างลา • การได้รับค่าตอบแทนจากการปฏิบัติงานนอกเวลางาน • - ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง • - ค่าเบี้ยประชุม • - กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • - สิทธิตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม • - สิทธิอื่นๆ ตามที่ กพส.กำหนด การพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน กรณีลาศึกษาต่อต้องเป็น พกส.มาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๒ ปี จึงจะใช้สิทธิลาศึกษาต่อได้ 28
หมวด ๕ การประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานกระทรวงสาธารณสุขทั่วไป ประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อ ๑. เพิ่มค่าจ้าง ๒. ต่อสัญญาจ้าง ๓. เลิกจ้าง พนักงานกระทรวงสาธารณสุขพิเศษ ประเมินผลสำเร็จของงานตามช่วงเวลา ที่กำหนดไว้ในสัญญาจ้าง หรือเพื่อต่อสัญญาจ้าง กรณีที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล การปฏิบัติงาน เพื่อต่อสัญญาจ้าง 29
หมวด ๖ การสิ้นสุดสัญญาจ้าง - ครบกำหนดตามสัญญาจ้าง - อายุครบหกสิบปี หรือขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้าม - ตาย - ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน - ถูกปลดออก หรือไล่ออก เฉพาะกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง - หน่วยบริการเสร็จสิ้นภารกิจ (และฐานะการเงินของหน่วยบริการ) - ลาออก 30
บทเฉพาะกาล • หน่วยบริการตั้งคณะกรรมการ เพื่อประเมินลูกจ้างชั่วคราวเข้าสู่ • ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุขให้แล้วเสร็จภายใน ๑๘๐ วัน • นับแต่วันที่ระเบียบนี้บังคับใช้ (๒๗ ส.ค. ๕๖) 31
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง เข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 32
๑. การเจ้าหน้าที่จัดประชุมชี้แจงลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง พร้อมแจกหนังสือแสดงเจตนาขอเข้ารับการประเมิน ๒. ผู้ขอประเมินทำหนังสือแสดงเจตนาขอเข้ารับการประเมิน ตามหนังสือแสดงเจตนา 33
๓. การเจ้าหน้าที่ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เข้ารับการประเมิน ๓.๑ มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่ประเมิน และ ๓.๒ ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีและได้รับการปรับค่าจ้าง ณ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ หรือ ๓.๓ กรณีไม่เข้าข่ายตาม ข้อ ๓.๒ ให้ผู้บังคับบัญชาจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามระยะเวลาการปฏิบัติงาน โดยผู้นั้นต้องเป็นผู้ผ่านเกณฑ์ตามที่คณะกรรมการส่วนราชการหรือหน่วยบริการกำหนด 34
๔. ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น*ประเมินตามแบบประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง ( เอกสารหมายเลข ๑ ) คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน *ผู้บังคับบัญชาใกล้ชิด หรือเหนือขึ้นไป ๑ ระดับ เช่น หัวหน้างาน/ฝ่าย/กลุ่มงาน หรือหัวหน้าสถานีอนามัย ๕. หัวหน้าส่วนราชการ**แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะ ที่เหมาะสมกับตำแหน่งงาน **อธิบดี หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เช่น นพ.สสจ. ผอ.รพศ ผอ.รพท. ๖. คณะกรรมการ***ประเมินคุณลักษณะที่เหมาะสมกับตำแหน่งงาน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ ( เอกสารหมายเลข ๒ ) คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน ***คณะกรรมการที่หน่วยบริการแต่งตั้ง 35
๗. คณะกรรมการรายงานผลการประเมิน ( เอกสารหมายเลข ๑ และ ๒ ) คะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ๗.๑ ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการประเมิน ๗.๒ สรุปผลการประเมิน และแจ้งให้หัวหน้าส่วนราชการทราบ ภายใน ๒๖ ส.ค. ๒๕๕๖ ๗.๓ จัดทำสัญญาจ้าง และคำสั่งให้พนักงานกระทรวงสาธารณสุขไปปฏิบัติงาน โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๑ ต.ค. ๒๕๕๖ (ไม่เกิน ๔ ปี) 36
การมอบอำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะการมอบอำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะ ๑. ราชการบริหารส่วนกลาง ให้ ผอ.สำนัก/สถาบัน/ผอ.รพ ๒. ราชการบริหารส่วนภูมิภาคและส่วนกลางที่ตั้งอยู่ส่วนภูมิภาค ให้ นพ.สสจ./ผอ.รพศ./ผอ.รพท./ผอ.วิทยาลัย/ผอ.รพ./ผอ.ศูนย์ ๓. กรมต่างๆให้อยู่ในดุลพินิจหัวหน้าส่วนราชการ 37
บทเฉพาะกาล(ต่อ) • จัดทำกรอบอัตรากำลัง พกส. ๔ ปี ภายใน ๑ ปี เสนอ กพส. เห็นชอบ • ปรับเงินค่าจ้างตามประสบการณ์ ร้อยละ ๕ ทุกประสบการณ์ ๒ ปี • แต่ไม่เกิน ๕ ช่วง (๑๐ ปี) • จัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ภายใน ๑ ปี • แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุขชุดชั่วคราว • มีกรรมการไม่เกิน ๑๒ ท่าน โดยปลัดกระทรวงเป็นประธาน ภายใน ๖๐ วัน 38
ขอบคุณค่ะ 17 39