1 / 31

การให้ความรู้และคำปรึกษาผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง

การให้ความรู้และคำปรึกษาผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง. กุลวดี บุณยทรัพยากร ฝ่ายโภชวิทยาและโภชนบำบัด. ป้องกันไม่ได้ กรรมพันธุ์ อายุมากกว่า 50 ปี เพศชาย. ป้องกันได้ อ้วน BMI>27 (ผู้หญิง) ความดันโลหิตสูง มีไขมันในเลือดสูง เบาหวาน ยาคุมกำเนิดชนิดเม็ดรับประทาน สูบบุหรี่/ ดื่มแอลกอฮอล์

teneil
Download Presentation

การให้ความรู้และคำปรึกษาผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การให้ความรู้และคำปรึกษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองการให้ความรู้และคำปรึกษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กุลวดี บุณยทรัพยากร ฝ่ายโภชวิทยาและโภชนบำบัด

  2. ป้องกันไม่ได้ กรรมพันธุ์ อายุมากกว่า 50 ปี เพศชาย ป้องกันได้ อ้วน BMI>27 (ผู้หญิง) ความดันโลหิตสูง มีไขมันในเลือดสูง เบาหวาน ยาคุมกำเนิดชนิดเม็ดรับประทาน สูบบุหรี่/ ดื่มแอลกอฮอล์ ความเครียด/ วิตกกังวล ขาดการออกกำลังกาย ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง

  3. สาเหตุการเกิดโรคหลอดเลือดสมองสาเหตุการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ขาดการออกกำลังกาย กินอาหารไขมันปริมาณสูง ภาวะโภชนาการเกิน กินอาหารไขมันอิ่มตัวสูง อ้วน โรคหลอดเลือดสมอง (CVD) ภาวะไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กินอาหารโซเดียมสูง สูบบุหรี่ กินอาหารโคเลสเตอรอลสูง เครียด

  4. จุดมุ่งหมายในการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจุดมุ่งหมายในการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง • ปริมาณพลังงานและสารอาหารเพียงพอ เพื่อป้องกันการขาดสารอาหารและโรคแทรกซ้อน • ลักษณะอาหารให้เหมาะสมกับสภาวะของผู้ป่วย ( การกลืน )

  5. การให้ความรู้และคำปรึกษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองการให้ความรู้และคำปรึกษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง แบ่งตามสภาพผู้ป่วย • ไม่มีปัญหาการกลืน ตามปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วย • มีปัญหาการกลืนลำบาก • ไม่สามารถกลืนอาหารเองได้

  6. การคำนวณหาน้ำหนักที่พึงปรารถนาIdeal Body Weight IBW = Ht - 100 -10 % (Ht - 100) + 5 หรือ ผู้ชาย ใช้ ส่วนสูง - 100 ผู้หญิง ใช้ ส่วนสูง - 105 ตารางน้ำหนัก/ส่วนสูง ของกองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข

  7. ปริมาณอาหารที่ควรได้รับใน ๑วัน

  8. อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง • พลังงานเพียงพอ • อาหารจำกัดโซเดียม( 2400 มิลลิกรัม /วัน ) (รสชาติ จืด หลีกเลี่ยงอาหารแปรรูป อาหารหมักดอง เครื่องปรุงรสต่างๆ) • อาหารไขมัน ต่ำ ( < 30% ของพลังงาน ) (อาหาร ต้ม นึ่ง ย่าง อบ ตุ๋น ) • จำกัดปริมาณคอเลสเตอรอล( 200 – 300 มิลลิกรัม /วัน ) ( เครื่องในสัตว์ ไขมันสัตว์ อาหารทะเล) • เส้นใยอาหารสูง ( ข้าว-แป้งไม่ขัดสี ธัญพืช ผัก ผลไม้ )

  9. คาร์โบไฮเดรต • 50-60 % ของปริมาณพลังงาน • ควรเป็นคาร์โบไฮเดรต เชิงซ้อน(Complex carbohydrate)ที่มีเส้นใยอาหารสูง เช่น ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ ธัญพืช ต่างๆ • มีglycemic indexต่ำ

  10. โปรตีน • 0.8 -1 กรัม/กก./วัน หรือ 10 -20 %ของพลังงาน ในกรณีที่มีภาวะไตเสื่อม 0.6 กรัม / กก. / วัน การให้โปรตีน > 20% incidence of albuminuria (Toeller et al 1997 )

  11. ไขมัน • ประมาณ < 30 % ของพลังงาน (SFA <10 PUFA <10 MUFA 15-20) • Cholesterol < 300 mg/วัน (LDL- C< 100 mg) <200 mg/ วัน (LDL- C > 100 mg ) High MUFA diet - may reduce insulin resistance ( Parillo et al 1992 ) • improve TG, post-prandial glycemia (ADA 2000 b) - Reduce LDL-C but not reduce HDL-C

  12. ปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหารปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหาร

  13. ปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหาร (1)

  14. วิธี ลดไขมัน / โคเลสเตอรอล ในอาหาร - เลือกอาหารประเภท ต้ม ตุ๋น นึ่ง ย่าง อบ ยำ - เลือกนมและผลิตภัณฑ์นมที่ไขมันต่ำหรือปราศจากไขมัน - ดื่ม ชา/กาแฟ ไม่ใส่ครีมแท้หรือครีมเทียม - กินเนื้อสัตว์ไขมันต่ำ เช่น สันในไก่ สันในหมู ปลา - กินถั่วและผลิตภัณฑ์แทนเนื้อสัตว์เป็นบางมื้อ - เลือกใช้ภาชนะ non-stick - กินไข่ ไม่เกิน 3 ฟอง / สัปดาห์

  15. วิตามินและเกลือแร่ • หากได้รับโภชนาการที่ดี ไม่มีความจำเป็นต้องเสริมวิตามิน และเกลือแร่

  16. วิธี เพิ่มปริมาณเส้นใยอาหาร - กินข้าวและธัญพืช ที่ไม่ผ่านการขัดสี - เพิ่มปริมาณผักในมื้ออาหารทุกมื้อ - กินผลไม้ที่มีเส้นใยอาหารสูง

  17. ปริมาณใยอาหาร (ในอาหาร100 กรัม) รายการอาหาร ใยอาหาร (กรัม) ข้าวกล้อง 2. 8 ขนมปังwhole wheat 5.9 ถั่วเขียว 4. 3 ถั่วแดงหลวง 4. 8 จมูกข้าวสาลี 16. 5 ข้าวโอ๊ต 5. 8

  18. ปริมาณใยอาหารในผลไม้ 100 กรัม • 5 -7 กรัม มะขามหวาน ละมุดไทย • 2 -4 กรัม มะขามเทศ ฝรั่งสาลี่ น้อยหน่า สตอเบอรี่ ลูกพลับแห้ง มะม่วงเขียวเสวย มะม่วงแก้วดิบ ลำไย กล้วยน้ำว้า พุทรา แอปเปิ้ลแดงทั้งเปลือก • 1-2 กรัม มะม่วงแรดดิบ กล้วยหอม พิมเสนมัน มังคุด มะปราง กล้วยไข่ เงาะโรงเรียน แอปเปิ้ลปอก มะม่วงแก้วสุก ส้มเขียวหวาน สับปะรด ส้มเช็ง ชมพู่ ส้มโอ แคนตาลูป แตงโม

  19. ปริมาณใยอาหาร ในผัก 100 กรัม • 4 -10 กรัม ยอดสะเดา ดอกแค ยอดขี้เหล็ก ยอดแค • 2 - 4 กรัม สะตอ ผักกะเฉด แขนงกะหล่ำ ดอกกุยช่าย ดอกกวางตุ้ง ข้าวโพดอ่อน • 1 - 2 กรัม ถั่วฝักยาว ผักกวางตุ้ง ผักกาดขาว กะหล่ำปลี หอมใหญ่ มะเขือเทศสีดา • < 1 กรัม มะเขือเทศลูกใหญ่ กวางตุ้งไต้หวัน แตงกวา

  20. วิธี ลดโซเดียมในอาหาร - ลดการเติมเกลือหรือเครื่องปรุงรส ลงในอาหาร - ไม่เติมเครื่องปรุงรสเพิ่มอีกขณะกิน - ใช้เครื่องปรุงรสโซเดียมต่ำ - ใช้เครื่องเทศช่วยเพิ่ม รสชาติอาหาร - เลือกอาหารที่มีโซเดียมต่ำ

  21. โซเดียมในเครื่องปรุงรสโซเดียมในเครื่องปรุงรส

  22. อาหารสำหรับผู้ป่วยที่มีปัญหาการกลืนอาหารสำหรับผู้ป่วยที่มีปัญหาการกลืน • ผู้ป่วยที่ยังสามารถกลืนอาหารได้ แต่กลืนลำบากอาหารที่ให้ควรเป็นอาหารที่มีลักษณะข้น กึ่งแข็งกึ่งเหลว กลืนง่าย เช่น โจ๊กข้นๆ ,พุดดิ้ง ไข่ตุ๋น เจลลี

  23. ลักษณะอาหารที่เคี้ยวและกลืนง่ายลักษณะอาหารที่เคี้ยวและกลืนง่าย

  24. อาหารทางสายให้อาหาร Base milk fomular นมผง ฟักทอง ไข่ไก่ น้ำตาล น้ำมันพืช แป้งมัน

  25. ข้อควรระวังสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองข้อควรระวังสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง • ในผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดในกลุ่ม Warfarin (Caumadin ) ควรจำกัด หรือ งด อาหารที่มีวิตามิน K สูง เช่น ฟักทอง ผักใบเขียวเข้มประเภทผักโขมคะน้าใบ บรอคโคลี ดอกกะหล่ำ (ทำให้ประสิทธิยาลดลง) และไม่ควรรับประทาน ผลิตภัณฑ์จากใบแปะก๊วย , น้ำมันปลา ( อาจก่อให้เกิดเลือดออกในสมองได้ )

  26. Thank you

More Related