370 likes | 570 Views
การบริหารวงเงินงบประมาณ. การเลื่อนเงินเดือน. สำหรับ. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน (ก.พ.). หลักเกณฑ์และวิธีการเลื่อนเงินเดือน ตาม ว28/2552. สาระสำคัญ. วงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือน. ผู้บริหารวงเงินงบประมาณ. การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552.
E N D
การบริหารวงเงินงบประมาณการบริหารวงเงินงบประมาณ การเลื่อนเงินเดือน สำหรับ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) www.ocsc.go.th
หลักเกณฑ์และวิธีการเลื่อนเงินเดือน ตาม ว28/2552 สาระสำคัญ วงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือน ผู้บริหารวงเงินงบประมาณ การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 การจ่ายค่าตอบแทนพิเศษกรณีรับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้สูงสุด
แผนดำเนินการ • แต่ละคนเลื่อนเงินเดือนไม่เกิน ร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณ ต่อ 1 รอบ • ห้ามหารเฉลี่ย (ทุกคนในส่วนราชการได้ร้อยละเท่ากันไม่ได้) • ผลการประเมิน ต้องปรับปรุง<ร้อยละ 60 ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน” • เลื่อนเงินเดือนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดที่กำหนดแต่ละสายงาน • ประกาศร้อยละ/สั่งเลื่อนเงินเดือน ยกเว้น ผู้ที่เกษียณอายุ สั่งเลื่อน 30 ก.ย. /ผู้เสียชีวิต(ปฏิบัติงานครบ 4 เดือน) สั่งเลื่อนให้มีผลวันที่เสียชีวิต • แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะบุคคล/แจ้งเหตุผลผู้ที่ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน ส่วนราชการ/จังหวัด : คำนวณวงเงิน 3% ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ (นำวงเงินที่เหลือของรอบ 1 มี.ค. มาใช้ 1 ก.ย. ไม่ได้) ประกาศร้อยละ/ออกคำสั่ง/แจ้งผลเลื่อนเงินเดือน พิจารณาผลคะแนนกับ วงเงินงบประมาณ คำนวณวงเงินที่จะเลื่อน 31 มี.ค./30 ก.ย. 1 มี.ค./ 1 ก.ย. 1 เม.ย./1 ต.ค. การเจ้าหน้าที่เสนอหัวหน้าส่วนราชการ/ผู้ว่าราชการจังหวัด • ผู้บริหารวงเงิน • ฐานในการคำนวณ ผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนเงินเดือน
วงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือนวงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือน แยกวงเงินเลื่อน บริหารส่วนกลาง กับ บริหารส่วนภูมิภาค แยกวงเงิน อย่างน้อย 3 กลุ่ม คำนวณวงเงินที่จะเลื่อน ส่วนราชการตัดยอดจำนวนคนและจำนวนเงิน ขรก. ในราชการบริหารส่วนภูมิภาคให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ส่วนราชการ • โดยเลื่อนเงินเดือนภายในกลุ่มก่อน หากเหลือสามารถเกลี่ยได้ • กลุ่มที่ 1 ประเภทบริหาร • กลุ่มที่ 2 ประเภทอำนวยการ • กลุ่มที่ 3 ประเภทวิชาการ และทั่วไป • ส่วนราชการ/จังหวัด: คำนวณวงเงิน 3% ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ • ครั้งที่ 1 (เลื่อน ง/ด 1 เม.ย.) คำนวณ 3% ของเงินเดือนที่จ่าย ณ วันที่ 1 มี.ค. • ครั้งที่ 2 (เลื่อนเงินเดือน 1 ต.ค.) คำนวณ 3% ของเงินเดือนที่จ่าย ณ วันที่ 1 ก.ย. • (นำวงเงินที่เหลือของรอบ 1 มี.ค. มาใช้ 1 ก.ย.ไม่ได้) ส่วนกลาง ภูมิภาค • บริหารต้น-สูง • อำนวยการต้น-สูง • วิชาการ • ทั่วไป • วิชาการ • ทั่วไป • ปฏิบัติการ • ชำนาญการ • ชำนาญการพิเศษ • ปฏิบัติการ • ชำนาญการ • ชำนาญการพิเศษ • เชี่ยวชาญ • ทรงคุณวุฒิ • ปฏิบัติงาน • ชำนาญงาน • อาวุโส • ปฏิบัติงาน • ชำนาญงาน • อาวุโส • ทักษะพิเศษ
ผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือนผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือน ปลัดกระทรวง นายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรี บริหารวงเงิน บริหารวงเงิน รองปลัด 1 รองปลัด 2 รองปลัด 3 .... เอกอัครราชทูต/อัครราชทูต/กงสุลใหญ่ ผู้ตรวจ กระทรวง ผู้ว่าฯ/รองผู้ว่าฯ ปลัด กระทรวง อธิบดี 1 อธิบดี 2 อธิบดี 3 ปลัดฯ+รองปลัดฯ+อธิบดี บริหารวงเงิน รองอธิบดี 1 กรมที่ 1 รองอธิบดี 2 กรมที่ 1 รองอธิบดี 3 กรมที่ 1 รองอธิบดี 4 กรมที่ 1 อธิบดี + รองอธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด บริหารวงเงิน บริหารวงเงิน รองอธิบดี 1 กรมที่ 2 รองอธิบดี 2 กรมที่ 2 รองอธิบดี 3 กรมที่ 2 รองอธิบดี 4 กรมที่ 2 • วิชาการ • -ทรงคุณวุฒิ • -เชี่ยวชาญ • -ชำนาญการพิเศษ • -ชำนาญการ • -ปฏิบัติการ • ทั่วไป • -ทักษะพิเศษ • -อาวุโส • -ชำนาญงาน • -ปฏิบัติงาน • อำนวยการต้น • อำนวยการสูง รองอธิบดี... รองอธิบดี... • วิชาการ • -ชำนาญการพิเศษ • -ชำนาญการ • -ปฏิบัติการ • ทั่วไป • -อาวุโส • -ชำนาญงาน • -ปฏิบัติงาน รองอธิบดี... รองอธิบดี... ผู้บริหารวงเงิน อาจจัดสรรวงเงินให้หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม หรือหัวหน้าหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อน และการจัดสรร
ตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อน และการจัดสรร (ต่อ) ไม่ได้จัดสรรวงเงินลงระดับอำเภอ
ตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อน และการจัดสรร (ต่อ) วงเงินระดับอำเภอ
การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 พิจารณาผลคะแนนกับวงเงินงบประมาณ แต่ละคนเลื่อนเงินเดือนไม่เกินร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณ ต่อ 1 รอบ ห้ามหารเฉลี่ย (ทุกคนในส่วนราชการได้ร้อยละเท่ากันไม่ได้ ผลการประเมิน “ต้องปรับปรุง”< ร้อยละ 60 “ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน” เลื่อนเงินเดือนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดที่กำหนดแต่ละสายงาน รวมทั้งส่วนราชการ เลื่อนได้ไม่เกิน วงเงินการเลื่อนเงินเดือนที่ได้รับการจัดสรร
การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ฐานการคำนวณคืออะไร ตัวเลขที่นำไปใช้ในการคิดคำนวณเพื่อเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการแต่ละประเภท ตำแหน่ง สายงาน และระดับ ก.พ. กำหนด ท้าย ว28/2552 ตัวอย่าง การใช้ฐานในการคำนวณ
การจ่ายค่าตอบแทนพิเศษกรณีรับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้สูงสุดการจ่ายค่าตอบแทนพิเศษกรณีรับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้สูงสุด ผู้ได้รับเงินเดือนสูงสุด/ใกล้สูงสุด ให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษคิดตามผลการปฏิบัติงาน ตัวอย่าง 1 3 4 1 36,020 เพดานเงินเดือนของแต่ละระดับ ชำนาญการ - - 1 3 4 36,020 x = 2 ฐานฯ * 25,190 เงินเดือนก่อนเลื่อน % เลื่อน ผลคำนวณ เลื่อนเงินเดือน รับค่าตอบแทน 30,600 25,180 Midpoint 36,020 3 % 918 0 918 20,350 นาย ก. 5 3 4 35,560 3 % 918 460 458 12,530 นาย ข.
ตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อนตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อน สำนักที่ 1 สำนักที่ 2 สำนักที่ 3 จำนวน คะแนน % จำนวน คะแนน % จำนวน คะแนน % 1 96-100 5 2 90-100 4.8 14 90-100 3.2 ดีเด่น 2 91-95 4.5 16 80-89 4.2 22 80-89 3 ดีมาก 20 81-90 3.2 22 70-79 3 10 70-79 2.9 ดี 7 60-80 2.8 8 60-69 2.6 3 60-69 2.6 พอใช้ 0 น้อยกว่า60 0 น้อยกว่า60 0 น้อยกว่า60 ปรับปรุง 30 48 49
ตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อนตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อน สำนัก ก. สำนัก ข. จำนวน คะแนน % จำนวน คะแนน % 2 90-100 4.3-4.8 14 90-100 2.9-3.2 ดีเด่น 16 80-89 3.1-4.2 22 80-89 2.5-2.8 ดีมาก 22 70-79 2.6-3.0 10 70-79 2.1-2.4 ดี 8 60-69 2.2-2.5 3 60-69 1.8-2.0 พอใช้ 0 น้อยกว่า60 0 น้อยกว่า60 ปรับปรุง 48 49
การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ประกาศร้อยละการเลื่อน • คำนวณ % การเลื่อนภายในกรอบวงเงินการเลื่อนแล้วประกาศ % การเลื่อนในแต่ละระดับผลการประเมิน • แต่ละสำนัก/กอง ไม่เท่ากันก็ได้ • ประกาศอย่างช้าพร้อมกับการมีคำสั่งเลื่อนเงินเดือน ออกคำสั่ง • ออกคำสั่งเลื่อน • 1 เม.ย. • 1 ต.ค. ผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนเงินเดือน • ส่วนกลาง = อธิบดี • ส่วนภูมิภาค = ผู้ว่าฯ ยกเว้น ผู้เกษียณอายุ สั่งเลื่อน 30 ก.ย. ผู้เสียชีวิต (ปฏิบัติงานครบ 4 เดือน) สั่งเลื่อนวันเสียชีวิต
การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) การแจ้งผลการเลื่อน ตัวอย่าง นาย ก. ตำแหน่ง .................................ระดับ......... สำนักกอง.................................................. เงินเดือนก่อนเลื่อน................................... ฐานในการคำนวณ.................................... ร้อยละการเลื่อน........................................ จำนวนเงินที่ได้เลื่อน................................. เงินเดือนหลังเลื่อน.................................... • แจ้งเป็นข้อมูลเฉพาะแต่ละบุคคล • แจ้งเหตุผลผู้ที่ไม่ได้เลื่อน
การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) • ยกเลิกการรอเลื่อนเงินเดือน : ผู้ถูกตั้งคณะกรรมการสอบวินัยร้ายแรงและผู้ถูกฟ้องคดีอาญา • หากถูกลงโทษ ต้องงดเลื่อนเงินเดือนในรอบการประเมินที่ถูกลงโทษ • ข้าราชการที่ถูกรอฯ ไว้ก่อนกฎ ก.พ.นี้ ให้เลื่อนตามผลงานที่ประเมินไว้ ลาศึกษา/ฝึกอบรม : จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน ผู้ไปปฏิบัติงานองค์การระหว่างประเทศ : เมื่อกลับมาปฏิบัติงานให้สั่งเลื่อนเงินเดือนในอัตราไม่เกินร้อยละ 3 ของเงินเดือนข้าราชการผู้นั้น เสียชีวิต : จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน และให้เลื่อนเงินเดือนได้ในวันเสียชีวิต เกษียณอายุราชการ : เลื่อนเงินเดือนในวันที่ 30 ก.ย. ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน 2 เดือน ไม่ลา/สาย เกินจำนวนครั้งที่กำหนด ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุอันควร ลาไม่เกิน 23 วันทำการ โดยไม่รวมลาอุปสมบท/คลอดบุตร/ป่วยจำเป็น/ป่วยประสบอันตราย/พักผ่อน/ตรวจเลือก/เตรียมพล/ทำงานองค์การระหว่างประเทศ
ตัวอย่าง การคำนวณเลื่อนเงินเดือน ฐานฯ/ผลประเมิน เท่าเงินเดือนที่ได้เลื่อน เท่า ฐานฯ เท่าผลประเมิน ต่าง เงินเดือนที่ได้เลื่อน ต่าง
การบริหารวงเงินเพื่อการเลื่อนเงินเดือนโดยใช้ระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคล (DPIS/PPIS) OfficeoftheCivilServiceCommission (OCSC)
ขั้นตอนการใช้ระบบบริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือนขั้นตอนการใช้ระบบบริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือน กำหนดระดับผลการประเมินย่อย และร้อยละของการเลื่อนเงินเดือน ในแต่ละรับดับผลการประเมินย่อย 1 หน่วยงานที่ไม่ได้ใช้ระบบ DPIS/PPIS 4.0 นำเข้าของมูลคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการจากไฟล์แม่แบบที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด หน่วยงานที่ใช้ระบบ DPIS/PPIS 4.0 ดึงข้อมูลคะแนน ที่ได้จากการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2.1 2.2 ตรวจสอบสังกัดของข้าราชการในการเลื่อนขั้นเงินเดือน เช่น กรณีข้าราชการที่ไปช่วยราชการที่หน่วยงานอื่น และใช้เม็ดเงินที่หน่วยงานอื่นในการเลื่อนเงินเดือน 3 4 บริหารวงเงินงบประมาณเลื่อนเงินเดือน 5 จัดทำบัญชีแนบท้ายคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน
กำหนดระดับผลการประเมินย่อย และร้อยละของการเลื่อนเงินเดือนในแต่ละระดับผลการประเมินย่อย 1
หน่วยงานที่ใช้ระบบ DPIS/PPIS 4.0นำเข้าข้อมูลคะแนนผลการประเมิน และข้อมูลที่จำเป็น 2.1
หน่วยงานที่ไม่ได้ใช้ระบบ DPIS/PPIS 4.0 นำเข้าข้อมูลคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการจากไฟล์แม่แบบที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด 2.2
ตรวจสอบสังกัดของข้าราชการในการเลื่อนขั้นเงินเดือนตรวจสอบสังกัดของข้าราชการในการเลื่อนขั้นเงินเดือน 3
บริหารวงเงินงบประมาณเลื่อนเงินเดือน (การเปรียบเทียบ) 4
บริหารวงเงินงบประมาณเลื่อนเงินเดือน (รายละเอียด) 4
บริหารวงเงินงบประมาณเลื่อนเงินเดือน (ตัวอย่างรายงาน) 4
ตัวอย่าง การคำนวณเลื่อนเงินเดือน เงินเดือน ต่างฐานฯ/ผลประเมิน เท่า เงินเดือน ,ฐานฯ ต่างผลประเมิน เท่า เงินเดือน , ฐานฯ ,ผลประเมิน ต่าง
ฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือนฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือน * สำหรับสายงานดังนี้ : การเกษตร/ประมง/ป่าไม้/สัตวบาล/อุตุนิยมวิทยา/อุทกวิทยา/สาธารณสุข/สัตวแพทย์/ช่างศิลปกรรม/ช่างเครื่องกล/ช่างเทคนิค/ช่างไฟฟ้า/ช่างโยธา/ช่างรังวัด/ช่างสำรวจ/ช่างชลประทาน/คีตศิลป์/ดุริยางคศิลป์/นาฏศิลป์ * แพทย์/นักกม.กฤษฎีกา
ผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือนผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือน ปลัดกระทรวง/อธิบดี/หัวหน้าที่มีผู้บังคับบัญชาเป็นอธิบดี-ฐานะเป็นอธิบดี นายกฯ /รมต. รองปลัดกระทรวง/ผู้ตรวจกระทรวง/ผู้ว่าฯ/รองผู้ว่าฯ/ เอกอัครราชทูต (เทียบเท่า)/กงสุลใหญ่/อัครราชทูต (เทียบเท่า) ปลัดกระทรวง หัวหน้ากรมขึ้นตรงนายกฯ/รมต. รองหัวหน้ากรมขึ้นตรงนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรี รองอธิบดี/รองหัวหน้าที่มีผู้บังคับบัญชาเป็นอธิบดี-ฐานะเป็นอธิบดี ปลัดกระทรวง+รองปลัดฯ+อธิบดี ตำแหน่งประเภทอำนวยการ/วิชาการ/ทั่วไป อธิบดี+รองอธิบดี ตำแหน่งในราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประเภทวิชาการ (ชำนาญการพิเศษ/ชำนาญการ/ปฏิบัติการ) ประเภททั่วไป (อาวุโส/ชำนาญงาน/ปฏิบัติงาน) ผู้ว่าราชการ