210 likes | 364 Views
บทบาทชาไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC ). ความสำคัญของการศึกษา. ปี 2558 เกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อาเซียนเป็นตลาดส่งออกใหญ่ที่สุดของไทย คิดเป็น 23% ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด เป็นสินค้าเกษตร 19% สินค้าเกษตร 20 รายการ ต้องลดภาษีเป็น 0 ในปี 2553
E N D
ความสำคัญของการศึกษา • ปี 2558 เกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • อาเซียนเป็นตลาดส่งออกใหญ่ที่สุดของไทย คิดเป็น 23% ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด เป็นสินค้าเกษตร 19% • สินค้าเกษตร 20 รายการ ต้องลดภาษีเป็น 0 ในปี 2553 • ข้าว กาแฟสำเร็จรูป และ ชา เป็นสินค้าเกษตรที่ส่งออกยังตลาดอาเซียนมากตามลำดับ • อาเซียนผลิตชารวมกัน 372,121 ตัน มูลค่าการค้าชา 387 ล้านเหรียญสหรัฐ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • เพื่อศึกษาโครงสร้างและตำแหน่งอุตสาหกรรมชาไทยในตลาดอาเซียน • เพื่อศึกษาศักยภาพ และความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมชาไทยในตลาดอาเซียน • เพื่อเสนอแนวทางการแข่งขันและการปรับตัวของอุตสาหกรรมชาไทย
ขอบเขตของการศึกษา • ศึกษาโครงสร้างและตำแหน่งของอุตสาหกรรมชาไทย • อุตสาหกรรมชาไทยอยู่ในตำแหน่งใด • ศึกษาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรค • ศึกษาในแหล่งปลูกชาที่สำคัญ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย
วิธีการศึกษา รวบรวมข้อมูล • รวบรวมข้อมูลจากเกษตรกร ผู้ประกอบการชา เลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) • รวบรวมข้อมูล จาก เอกสารวิชาการ วิเคราะห์ข้อมูล • วิเคราะห์เชิงพรรณนา • วิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยวิเคราะห์กลยุทธ์ ใช้เครื่องมือ 5-Force ModelOT Analysis , SW Analysis , Strategies Group และ BCG
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนและกำหนดนโยบายให้อุตสาหกรรมชาของไทย สามารถปรับตัว และรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
สถานการณ์ชาในอาเซียน การผลิต เวียดนาม 174,900 ตัน อินโดนีเซีย 150,851 ตัน พม่า 26,500 ตัน ไทย 12,740 ตัน มาเลเซีย 6,570 ตัน ลาว 560 ตัน อื่นๆ 300 ตัน รวมทั้งหมด 372,121 ตัน
สถานการณ์ชาในอาเซียน (ต่อ) การส่งออก
สถานการณ์ชาในอาเซียน (ต่อ) อัตราการบริโภคชาในประเทศอาเซียน
สถานการณ์ชาในอาเซียน (ต่อ) อัตราภาษีนำเข้าของประเทศอาเซียน
ผลการศึกษา ผู้เข้ามาใหม่ คู่แข่งในธุรกิจ Supplies ลูกค้า สินค้าทดแทน โครงสร้างอุตสาหกรรมชา ประเทศอื่นในอาเซียนที่จะเข้ามาผลิตชา เพื่อแข่งขันค่อนข้างน้อย เช่น พม่า ลาว กัมพูชา เพราะการผลิตชาต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและเทคนิคการผลิตที่ดี เทคโนโลยี ตลาดเป็นของผู้ซื้อคือ ผู้บริโภคหรือประเทศผู้นำเข้า ผู้ซื้อกำหนดราคาในโครงสร้างอุตสาหกรรมทั้งหมด ผู้ที่มีอำนาจมากที่สุดคือ ประเทศผู้ซื้อ ผู้บริโภคค่อนข้างภักดีต่อการบริโภคชา แทบไม่มีพลังในการแข่งขัน มีอิทธิพลในการแข่งขันในอุตสาหกรรมสูง มีอิทธิพลในการแข่งขันในอุตสาหกรรมน้อย มีอิทธิพลในการแข่งขันในอุตสาหกรรมสูงมาก
ผลการศึกษา (ต่อ) (0.43 , 14.08) • ไทย (0.42 , 7.69) มาเลเซีย สิงคโปร์ (0.50 , 6.84) อินโดนีเซีย (1.99 , 4.51) (0.36 , 0.69) เวียดนาม อุตสาหกรรมชาของไทยในตลาดอาเซียน ? อัตราการเจริญเติบโตตลาดอาเซียน 5.19 (0.09, -1.41) 1.0X 0.1X 10X ส่วนแบ่งการตลาดโดยเปรียบเทียบ ฟิลิปปินส์
ผลการศึกษา (ต่อ) ขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้าชาของไทยกับประเทศในASEAN
ผลการศึกษา (ต่อ) 1.17 0.31 1.36 0.83 0.59 0.28 0.21 0.28 0.57 0.19 ขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้าชาของไทยกับประเทศในASEAN 5.51 4.99
ผลการศึกษา (ต่อ) ผลการวิเคราะห์ด้วยเมทริกซ์ อุปสรรค-โอกาส-จุดอ่อน-จุดแข็ง (TOWS Matrix) จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) 2 0 4 SO : จุดแข็ง-โอกาส WO : จุดอ่อน-โอกาส TEA (2 .89 , 2 .70) 2 ST : จุดแข็ง-อุปสรรค WT : จุดอ่อน-อุปสรรค 0
ผลการศึกษา (ต่อ) Strategies group mapping ของชา 16 ไทย 15 อินโดนิเซีย 21 มาเลเซีย คุณภาพ 182 สิงค์โปร์ 11 เวียดนาม 3 ฟิลิปปินส์ มูลค่าการส่งออก
บทบาทของอุตสาหกรรมชาไทยใน AEC • ผลักดันให้สินค้าชาของไทย เป็นที่รู้จักของตลาดมากขึ้น • เร่งสร้าง Brand Name ชาไทย • สนับสนุนการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ • ประชาสัมพันธ์สินค้าชาของไทยมากขึ้น
บทบาทของอุตสาหกรรมชาไทยใน AEC 2. ผลักดันให้สินค้าชาของไทยเป็นผู้นำด้านคุณภาพของตลาดอาเซียน • เพิ่มปริมาณการผลิตชาคุณภาพและชาอินทรีย์ • จัดทำ Zoning ชา • ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่ถูกต้องเหมาะสม
บทบาทของอุตสาหกรรมชาไทยใน AEC 3. ขยายตลาดนอกภูมิภาคอาเซียนมากขึ้น • สร้างพันธมิตรทางการค้า • สนับสนุนการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ชาหลายรูปแบบ