1 / 33

กองทุนหลักประกัน สุขภาพ( อบต /เทศบาล)

กองทุนหลักประกัน สุขภาพ( อบต /เทศบาล). วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างให้ ท้องถิ่นมีส่วนร่วม ในการจัดการเรื่องสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ และมี ความเป็นเจ้าของ ระบบหลักประกันสุขภาพ. ดุสิต ศรีโคตร dusit.s@nhso.go.th 084-7001667 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น. ผลลัพธ์คือ.

Download Presentation

กองทุนหลักประกัน สุขภาพ( อบต /เทศบาล)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองทุนหลักประกันสุขภาพ(อบต/เทศบาล)กองทุนหลักประกันสุขภาพ(อบต/เทศบาล) วัตถุประสงค์ • เพื่อสร้างให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการเรื่องสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ และมีความเป็นเจ้าของระบบหลักประกันสุขภาพ ดุสิต ศรีโคตร dusit.s@nhso.go.th 084-7001667 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น

  2. ผลลัพธ์คือ.. การพึ่งตนเองด้านสุขภาพ “รอยยิ้มแห่งความสุข”

  3. หลักการของกองทุน การเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชนซึ่งเกิดจากพฤติกรรมของบุคคล โดยมีท้องถิ่นเป็นกลไกในพื้นที่ในการร่วมสร้างบทบาทของประชาชนเพื่อเชื่อมกับกลไกของสาธารณสุข

  4. วัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ 1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการอื่น โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต 2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในชุมชน สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ อย่างน้อยตามประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุขที่กำหนด 3. เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในพื้นที่โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของคนในท้องถิ่นและชุมชน

  5. 1. กรรมการ 4. ระบบ รายงาน 2. งบประมาณ 3. กิจกรรม องค์ประกอบสำคัญในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น 4 องค์ประกอบ

  6. 1. กรรมการ ดำเนินการบริหารกองทุนในรูปแบบคณะกรรมการ

  7. หน้าที่คณะกรรมการ • จัดทำข้อมูลและแผนดำเนินงานเกี่ยวกับปัญหาสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมายและหน่วยบริการต่างๆที่เกี่ยวข้อง • ดำเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บ้าน ในชุมชนหรือที่หน่วยบริการได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ • บริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใสและจัดทำสรุปผลการดำเนินงานและงบดุลเพื่อเสนอ สปสช. ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี • รับผิดชอบการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีกองทุนให้เป็นไปตามแบบแผนที่ สปสช. กำหนด • จัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

  8. 2. งบประมาณ แหล่งที่มางบของกองทุน 1. สปสช.สมทบ 2. อบต./เทศบาลสมทบ 3. เงินสมทบจากชุมชนหรือกองทุนชุมชน 4. รายได้อื่นๆ งบกองทุนเปิดบัญชี ธกส.ในนามกองทุน

  9. 3. กิจกรรม แผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น แบ่งเป็น 4 ประเภท 1.จัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ 2.สนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุข 3.การสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชน องค์กร ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ 4.การบริหารจัดการกองทุน

  10. 4. รายงาน ๑.รายงานการเงิน บันทึกรายวัน รายเดือน ส่งรายไตรมาส ๒.รายงานกิจกรรม จัดทำรายเดือน ส่งรายไตรมาส ทุกกองทุนต้องจัดทำระบบรายงานผ่านอินเตอร์เน็ต(ออนไลน์)

  11. ประชุม กรรมการ สรุปขั้นตอนการทำงานของ...กองทุน    จัดทำแผนงาน โครงการ จัดทำระเบียบ กองทุน    ติดตาม การดำเนินงาน รายงานผล (กิจกรรม/บัญชี) ดำเนินงาน ตามแผน แม่และเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง โรคเรื้อรัง

  12. ขั้นตอนการพิจารณาการสนับสนุนโครงการของกองทุนขั้นตอนการพิจารณาการสนับสนุนโครงการของกองทุน http://tobt.nhso.go.th

  13. การประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนใหม่การประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนใหม่

  14. การเบิกจ่ายเงินกองทุนให้กับโครงการการเบิกจ่ายเงินกองทุนให้กับโครงการ

  15. แบบบันทึกข้อตกลง

  16. หลักเกณฑ์การต่ออายุกองทุนหลักเกณฑ์การต่ออายุกองทุน

  17. กองทุนเก่า เข้าไปลงข้อมูลทำ MOU (ตามหลักเกณฑ์ใหม่)ที่ http://www.nhso7kkn.info/contract/index.php ส่งแบบ MOU 2 ชุด ไปที่สปสช.เขต 7 ขอนแก่น http://www.nhso7kkn.info/contract/index.php

  18. ภาพรวมกองทุนฯ เขต 7 ขอนแก่น

  19. ภาพรวมกองทุนรายจังหวัดภาพรวมกองทุนรายจังหวัด

  20. หลักเกณฑ์ที่เปลี่ยนแปลงปี 2553

  21. กรณีที่จำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ครุภัณฑ์นั้นจะต้องมีราคาไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาทต่อหน่วย • กรอบรักษาพยาบาลปฐมภูมิ เป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานจำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของประชาชน โดยเป็นบริการเชิงรุกที่บ้านหรือชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบ ให้สามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพ และเข้าถึงการบริการอย่างต่อเนื่อง ทั่วถึง และเท่าเทียม

  22. รูปแบบการพัฒนาศักยภาพกองทุนรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกองทุน ใช้กลไกการดำเนิน งานในพื้นที่โดย พัฒนาศักยภาพทีมระดับอำเภอ

  23. งานเน้นหนักปี 2553

  24. ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ.2550-2559 เป้าประสงค์สูงสุด ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศ มีภูมิคุ้มกันและศักยภาพในการสกัดกั้นภัยคุกคามสุขภาพจากโรควิถีชีวิตที่สำคัญได้ เป้าหมายและตัวชี้วัดหลักในการพัฒนา [3 เป้าหมายหลัก, 16 ตัวชี้วัดหลัก] 5 โรควิถีชีวิตที่สำคัญ 1] เบาหวาน 2] ความดันโลหิตสูง 3] หัวใจขาดเลือด 4] หลอดเลือดสมอง 5] มะเร็ง 4 ด้าน 1] การเกิดโรค 2] ภาวะแทรกซ้อน 3] การตาย 4] ภาระค่าใช้จ่าย 2 วิถีชีวิตที่พอเพียง 1] การบริโภคที่เหมาะสม 2] การออกกำลังกายที่เพียงพอ ระยะกลาง 5 ปี [2550-2554] ปฎิบัติการเชิงรุกสู่การวางรากฐานที่ มั่นคงเชิงโครงสร้างและระบบ ระยะยาว 10 ปี [2550-2559] สร้างความเข้มแข็งเชิงโครงสร้าง และระบบการป้องกันและ แก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน ระยะสั้น 1-3 ปี [2550-2552] บูรณาการความคิด สร้างความ เชื่อมั่นและการมีส่วนร่วม ขับเคลื่อนของภาคีเครือข่ายร่วม Roadmap Strategy นโยบาย สาธารณะ สร้างสุข การขับเคลื่อนทางสังคม และ การสื่อสารสาธารณะ การพัฒนา ศักยภาพ ชุมชน การพัฒนาระบบ เฝ้าระวังและ การจัดการโรค การสร้างความ เข้มแข็งของระบบ สนับสนุนยุทธศาสตร์

  25. http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdfhttp://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf

  26. ปัจจัยเสี่ยงร่วม(Shared Risk Factors) • การบริโภคไม่เหมาะสม (Unhealthy Diet) • บริโภคผักและผลไม้น้อย • บริโภค หวาน มัน เค็ม มากไป • สูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก • การออกกำลังกายไม่เพียงพอ (Physical Inactivity) • ภาวะน้ำหนักเกิน โรคอ้วน • ความเครียด • ภาวะความดันโลหิตสูง • ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง • ภาวะไขมันในเลือดสูง • ขาดการตรวจสุขภาพเป็นประจำ

  27. เป็นโรค 2-10% 40 ปีขึ้นไป เสี่ยง พร้อมจะเสี่ยง ป่วย เสี่ยง ตาย ปกติ น่าจะเสี่ยง ยังไม่เสี่ยง 20-30% 36-40 ปี ปกติ 60-80% 0-35 ปี รักษา ฟื้นฟูสภาพ ค้นหาเพื่อป้องกันรักษาทันที ส่งเสริมสุขภาพ

  28. บทบาทกองทุน อบต./เทศบาล • คัดกรองความเสี่ยง อายุ ≥ 40 ปี • ทุกคน และตรวจคัดกรอง DM/HT ทุกคนที่พบความเสี่ยงสูง • 2.สนับสนุนกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงต่างๆในชุมชน • 3. สนับสนุนการจัดตั้งและกิจกรรมของชมรม DM/HT ทุกชุมชน

  29. เน้นบูรณาการงบประมาณ • กองทุน อบต./ เทศบาล • งบพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ • งบส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค • งบพัฒนาคุณภาพบริการ • กองทุนทดแทนไตวายฯ • กองทุนโรคเรื้อรัง (DM/HT)

  30. แผนการดำเนินงานปี 53

  31. บทบาททีมพัฒนาศักยภาพกองทุน(ทีมอำเภอ)บทบาททีมพัฒนาศักยภาพกองทุน(ทีมอำเภอ)

  32. ขอบคุณทุกท่าน...สวัสดีครับขอบคุณทุกท่าน...สวัสดีครับ

More Related