230 likes | 356 Views
แผนแม่บท ด้านการส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชาย. มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2544.
E N D
แผนแม่บท ด้านการส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชาย
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2544 • ทุกกระทรวง/กรม แต่งตั้งผู้บริหารระดับรองปลัดกระทรวง หรือรองอธิบดีขึ้นไป ทำหน้าที่เป็นผู้บริหารด้านการเสริมสร้างบทบาทหญิงชาย(Chief Gender Equality Officer-CGEO) จำนวน 1 คน • ทุกกระทรวง/กรม จัดตั้งสำนัก/กอง ทำหน้าที่ศูนย์ประสานงานด้านความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย (Gender Focal Point) • สำนักงาน ก.พ. กำหนดคุณสมบัติ และอำนาจหน้าที่ของ CGEO/ Gender Focal Point
กลไกหลักในการขับเคลื่อนกลไกหลักในการขับเคลื่อน กระบวนการส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชาย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) กยส. กสส. CGEO กรม CGEO กรม CGEO กรม สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) สำนักส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชาย (สญช.) ฝ่ายเลขานุการ GFP GFP GFP
ว 3/ 2545 เรื่อง การกำหนดคุณสมบัติ อำนาจหน้าที่ของ CGEO และGFP
สาระสำคัญ ครม. มอบให้ ก.พ. กำหนด 1. กำหนดรายละเอียด คุณสมบัติ อำนาจหน้าที่ของ CGEO 2. บทบาทหน้าที่ของศูนย์ GFP
สาระสำคัญ (ต่อ) คุณสมบัติ CGEO มีความเข้าใจและสามารถบริหารงานด้านการเสริมสร้างบทบาทหญิงชาย ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร GenderMainstreamingandGender Advocacy
บทบาทหน้าที่ CGEO กำกับดูแลการดำเนินงานขององค์กรอย่างมีมิติหญิงชาย - การบริหารงานบุคคล - การกำหนดนโยบาย แผนงานการให้บริการกลุ่มเป้าหมาย • เพิ่มศักยภาพและเสริมสร้างโอกาส • - การศึกษาและฝึกอบรม • - เศรษฐกิจ • เสริมสร้างสิทธิและอำนาจ • - สิทธิทางกฎหมาย • - การมีส่วนร่วมทางการเมืองและการบริหาร • เสริมสร้างความมั่นคง • - ขจัดปัญหาการค้าหญิงและเด็ก • - ปัญหาอนามัยเจริญพันธุ์ • - ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว • - การล่วงเกินในสถานที่ทำงาน เครื่องมือ - ข้อมูลการวิเคราะห์มิติหญิง-ชาย - การสนับสนุนงบประมาณ - การติดตามผลประเมินผล
สาระสำคัญของ GFP • บทบาทศูนย์ประสานงาน ฯ การตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงาน โดยมี • CGEO เป็นประธานและคณะทำงาน • เป็นศูนย์กลางจัดทำแผนแม่บทฯ ประสานงาน • รายงานการดำเนินการ
การกำหนดยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชายในทุกระดับ(แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม)การกำหนดยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชายในทุกระดับ(แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม)
สงเคราะห์ ผู้หญิงเป็นผู้รับบริการ นโยบายบนลงล่าง ผู้หญิง/ผู้ชายมีศักยภาพ มีอำนาจในการตัดสินใจด้วยตนเอง มีส่วนร่วมในการพัฒนา นโยบายล่างขึ้นบน สถานภาพของผู้หญิงได้รับความเสมอภาค เป็นธรรม ความยั่งยืน คำนึงถึงชนชั้น อายุ เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ร่วมกับมิติหญิงชาย เป้าหมายผู้หญิง/ผู้ชาย/ครอบครัว แต่ต้องเปลี่ยน “แนวคิด”
แนวคิดพื้นฐาน • ชัดเจนว่าเพศ และบทบาทความสัมพันธ์หญิงชายแตกต่างกัน • เพศ ติดตัวมาแต่กำเนิด ตามสรีระร่างกาย เปลี่ยนแปลงไม่ได้ • บทบาทความสัมพันธ์หญิงชายเปลี่ยนแปลงได้ สังคมเป็นผู้กำหนด • ความเสมอภาคระหว่างเพศเป็นแนวคิดการพัฒนาสำคัญทางสังคม • ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย หมายถึงสิทธิ โอกาส ความรับผิดชอบ การได้รับการปฏิบัติ การประเมินคุณค่าทั้งชีวิตและการทำงาน
หลักการสำคัญ • การส่งเสริมความเสมอภาคเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบร่วมกันของสมาชิกในสังคมทั้งหญิงและชาย • ตระหนักว่าปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ใช่ปัญหาส่วนบุคคลแต่เป็นปัญหาของสังคม • ในกรณีที่มีความไม่เสมอภาค ต้องดำเนินมาตรการ โครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อแก้ปัญหา • นำเสนอปัญหาความไม่เสมอภาคต่อสาธารณะเพื่อให้สังคมรับรู้อย่างต่อเนื่อง • มาตรการ กิจกรรม โครงการ ต้องก่อให้เกิดการสร้างพลัง เครือข่าย เพื่อการสนับสนุน แลกเปลี่ยนข้อมูล
การวิเคราะห์บทบาทความสัมพันธ์หญิงชายการวิเคราะห์บทบาทความสัมพันธ์หญิงชาย • การแจกแจงการแบ่งงานระหว่างหญิงและชาย • แจกแจงการเข้าถึงและควบคุมทรัพยากรและผลประโยชน์ • การทำความเข้าใจความต้องการขั้นพื้นฐานและโครงสร้าง ทางสังคมที่ไม่ตอบสนองต่อหญิงและชาย • แจกแจงข้อจำกัด การกีดกัน และโอกาสทางเศรษฐกิจ สังคม ที่มีต่อหญิงและชาย • เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลจำแนกเพศ
การตรวจสอบโครงการที่ใช้มิติหญิงชายการตรวจสอบโครงการที่ใช้มิติหญิงชาย • วิชาการ แยกแยะปัญหาได้ แยกกลุ่มเป้าหมายได้ • ข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ การวิจัย การประเมินผล • อยู่บนพื้นฐานหลักการการพึ่งพาตนเองทรัพยากรและวัฒนธรรม ความต้องการ ท้องถิ่น ชุมชน • กิจกรรม/โครงการที่เน้นการพัฒนาด้านต่างๆ ต้องมีการส่งเสริมเปลี่ยนแปลงสถานภาพ ศักยภาพ และลดความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างหญิงชาย
การตรวจสอบโครงการที่ใช้มิติหญิงชายการตรวจสอบโครงการที่ใช้มิติหญิงชาย • เน้นการรวมพลัง เครือข่าย การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้ ภูมิปัญญา การนำเสนอปัญหาต่อสาธารณะ (ทำให้เป็นปัญหาสังคมไม่ใช่ปัญหาส่วนบุคคล) • เปิดโอกาสให้ผู้หญิงผู้ชายได้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นและเข้าร่วมพัฒนาตนเองให้มากที่สุดทุกระดับ อาจใช้มาตราการพิเศษให้หญิง/เด็กหญิงในการดำเนินการหากจำเป็น • ส่งเสริมผู้หญิงทุกกลุ่ม ทุกระดับ ทั้งมีและไม่มีประสบการณ์เข้าร่วมกิจกรรม โดยเฉพาะผู้หญิงด้อยโอกาส • พื้นที่ ทั้งในครอบครัว ชุมชน สังคม
การตรวจสอบโครงการที่ใช้มิติหญิงชายการตรวจสอบโครงการที่ใช้มิติหญิงชาย • กำหนดนโยบาย กิจกรรม งบประมาณ การประเมินผล เพื่อตรวจสอบความเสมอภาค • ทบทวนศักยภาพขององค์กรในการส่งเสริมความเสมอภาค • วางแผน ร่วมมือ กิจกรรม โครงการในลักษณะ สหวิชาการ
กลยุทธ์หลัก บูรณาการมิติหญิงชายในภารกิจหลักของส่วนราชการเพื่อลงสู่กลุ่มประชาชนเป้าหมายในด้านต่างๆ กลยุทธ์รอง บูรณาการมิติหญิงชายใน การสร้างความเสมอภาค ระหว่างหญิงชายในส่วนราชการ (ภายในองค์กร) (เดิม)การจัดทำแผนแม่บทด้านการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
กลยุทธ์หลัก การบูรณาการมิติหญิงชายในภารกิจหลักของส่วนราชการเพื่อลงสู่ กลุ่มประชาชนเป้าหมายในด้านต่างๆ • การศึกษาและการฝึกอบรม • สุขภาพ/สิทธิการเจริญพันธุ์และเพศสัมพันธ์ • กฎหมายและนโยบายของรัฐ • การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจ/อาชีพ/การทำงานของผู้หญิง • ความรุนแรงต่อผู้หญิง • การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ/การบริหาร/การเป็นผู้นำ/การเมือง • เจตคติด้านความเสมอภาคหญิงชายในสังคม
กลยุทธ์รอง การบูรณาการมิติหญิงชายในการสร้างความเสมอภาค ระหว่างหญิงชายในส่วนราชการ (ภายในองค์กร) ด้านการพัฒนาข้าราชการ ด้านการพัฒนากลไก ในการทำงาน (กฎระเบียบและข้อปฏิบัติต่างๆ) ด้านข้อมูล และองค์ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหญิงชาย (การจัดเก็บข้อมูลจำแนกเพศ) ด้านการสร้างเครือข่าย อื่นๆ
แผนพัฒนาสตรีในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ปกติ เพิ่มเติม ปกติ ปกติ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ของหน่วยงาน โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม แผนแม่บทด้านสตรี แผนแม่บทที่อยากจะเห็น Company Logo