480 likes | 582 Views
การประยุกต์ใช้ข้อมูล. ด้วยโปรแกรม Microsoft Acces. ฐานข้อมูลของ MS-Access. - ข้อมูลจริงที่เก็บไว้ในไฟล์ฐานข้อมูล .MDB จะถูกเก็บในรูปของตาราง (Table) ที่ประกอบด้วยแถวแนวตั้ง และแถวแนวนอน - เรียกแถวแนวตั้งว่า “คอลัมน์ (Column)” - เรียกแถวแนวนอนว่า “แถว (Row)”
E N D
การประยุกต์ใช้ข้อมูล ด้วยโปรแกรม Microsoft Acces
ฐานข้อมูลของ MS-Access • - ข้อมูลจริงที่เก็บไว้ในไฟล์ฐานข้อมูล .MDB • จะถูกเก็บในรูปของตาราง (Table) ที่ประกอบด้วยแถวแนวตั้งและแถวแนวนอน - เรียกแถวแนวตั้งว่า “คอลัมน์ (Column)”- เรียกแถวแนวนอนว่า “แถว (Row)” • - ข้อมูลในคอลัมน์ แบ่งเป็นส่วนย่อยๆ แต่ละส่วนเรียกว่า“ฟิลด์ (Field)” • - ข้อมูลในแถว เป็นชุดข้อมูลของรายการแต่ละรายการ เรียกข้อมูลจริง • ของแต่ละรายการในแต่ละแถวว่า “เรคคอร์ด (Record)”
คอลัมน์ (Column)” “แถว (Row)”
ฟิลด์ (Field)” เรคคอร์ด (Record)
ส่วนประกอบ/เครื่องมือของ MS Access 7 ส่วน
ตาราง ส่วนที่เก็บข้อมูลจริง หรือส่วนที่บันทึกข้อมูลไว้
แบบสอบถาม ส่วนของเครื่องมือที่ใช้ในการ ประยุกต์ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ใช้ประโยชน์
ฟอร์ม ส่วนของการออกแบบ การติดต่อกับผู้ใช้
เพจ เครื่องมือที่ใช้ในการแปลง ข้อมูลที่บันทึกไว้แล้ว นำไปแสดงผลบนอินเตอร์เน็ต
แมโคร ชุดคำสั่งที่โปรแกรมสร้างไว้ให้
โมดูล ชุดคำสั่งที่ต้องเขียนคำสั่งเอง
การสร้างฐานข้อมูลใหม่การสร้างฐานข้อมูลใหม่ ไปที่คำสั่งแฟ้มเลือก สร้าง หรือกดแป้น ctrl+n 1
3 ตั้งชื่อแฟ้มที่ต้องการสร้าง 4
การนำเข้าข้อมูลที่มีอยู่มาใช้การนำเข้าข้อมูลที่มีอยู่มาใช้ 1 คลิ๊กขวา(พื้นที่ว่าง) 2 เลือกคำสั่งนำเข้า
เลือกฐานข้อมูล 3 เลือกปุ่มนำเข้า 4
แบบสอบถาม (Query) แบบสอบถาม (Query)หมายถึง เครื่องมือในการเรียกดู ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และวิเคราะห์ข้อมูล ตามความต้องการของผู้ใช้
เปิดฐานข้อมูลที่ต้องการเปิดฐานข้อมูลที่ต้องการ
2. เรียกคำสั่งแบบสอบถาม
3. เลือกชนิดของแบบสอบถาม
ชนิดของแบบสอบถาม 1. มุมมองออกแบบเป็นการสร้างเครื่องมือที่ออกแบบสอบถามเอง 2. ตัวช่วยการสร้างแบบตัวช่วยเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการสร้าง Select Query แบบง่าย ๆ ในการดึงข้อมูลจาก ตาราง 3. ตัวช่วยการสร้างแบบแท็บไขว้เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการสร้าง Select Query ที่คำนวณผลรวมข้อมูลต่าง ๆ จาก ตาราง ซึ่งมีลักษณะเป็นการจัดกลุ่มตามแถว และคอลัมน์
ชนิดของแบบสอบถาม 4. ตัวช่วยการสร้างแบบค้นหารายการที่ซ้ำเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการสร้าง Select Queryที่ทำการดึงข้อมูลที่ซ้ำกันออกมาแสดง 5. ตัวช่วยสร้างแบบสอบถามการค้นหาข้อมูลที่ไม่เข้าคู่กันเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการสร้างSelect Query ที่ทำการดึงข้อมูลจาก ตาราง 2 ตาราง โดยจะดึงเฉพาะ ข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันทั้ง 2 ตาราง ออกมา
ฝึกปฏิบัติ • สร้างแบบสอบถามว่านักศึกษาแต่ละคนมีงานอดิเรกใดบ้าง โดยให้แสดงรหัสนักศึกษา ชื่อ และงานอดิเรก โดยเรียงลำดับตามรหัสนักศึกษา • สร้างแบบสอบถามว่าอาจารย์แต่ละคนสอนวิชาใดบ้าง โดยเรียงลำดับตามชื่ออาจารย์ • สร้างแบบสอบถามว่าอาจารย์แต่ละคนเขียน text book เรื่องใดบ้าง • สร้างแบบสอบถามกลุ่มเรียน (Class)ของนักศึกษา โดยให้แสดงรหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา และห้องเรียน โดยให้เรียงตามรหัสนักศึกษาและห้องเรียน
การกำหนดเงื่อนไข การใช้โอเปอเรเตอร์ในคิวรี ในการกำหนดคิวรีข้อมูลหรือสืบค้นข้อมูล จำเป็นที่จะต้องกำหนด ความต้องการในไปให้ชัดเจนเพื่อได้มาซึ่งข้อมูลที่มีความหมาย ตรงต่อความต้องการ การใช้ Operator ช่วยในการสืบ จะอำนวยความสะดวกในเรื่องนี้ได้เป็นอย่างดี
การใช้คำสั่งการค้นหาข้อมูลการใช้คำสั่งการค้นหาข้อมูล • BETWEEN มีประโยชน์ในการค้นหาข้อมูลในช่วงของข้อมูล เช่น Between 10 And 20 จะมีความหมาย เช่นเดียวกับ >=10 and <=20 • IN มีประโยชน์ในการค้นหาข้อมูลที่มีฟิลด์นั้นมีค่าตรงกับข้อมูลในรายการ เช่น In(“กรุงเทพ”, “อุดรธานี”, “มหาสารคาม”) จะมีความหมายเดียวกันกับ “กรุงเทพ”or “อุดรธานี”or “มหาสารคาม” • LIKE มีประโยชน์ในการค้นหาฟิลด์ที่มีแบบข้อมูลเป็นแท็กซ์ (Text) - ใช้สัญลักษณ์ ? คือ ตัวอักษรตัวเดี่ยวใด ๆ เช่น LIKE “???” - ใช้สัญลักษณ์ * คือ ตัวอักษรตั้งแต่ 0 ขึ้นไป เช่น LIKE “a*” - ใช้สัญลักษณ์ # คือ ตัวเลขตัวเดี่ยวหนึ่งตัวรวมทั้งการกำหนดช่วงในวงเล็บ เช่น LIKE “1###*” - ใช้สัญลักษณ์ ! คือ การยกเว้นช่วง เช่น [0-9]
การเรียกดูข้อมูลตามข้อความที่ต้องการการเรียกดูข้อมูลตามข้อความที่ต้องการ โดยใช้คำสั่ง LIKE • ให้แสดงรายชื่อนักศึกษาที่ขึ้นต้นด้วย ม • ให้แสดงรายชื่อนักศึกษาที่มีงานอดิเรกคือ ฟังเพลง • ให้แสดงว่า อาจารย์ที่ชื่อ ชาลี เขียน text book เรื่องใด • บ้าง • 4. ให้แสดงรายชื่อและรหัสนักศึกษาที่สอบได้เกรด A วิชาอินเทอร็เน็ตเบื้องต้น
การเรียกดูข้อมูลตามข้อความที่ต้องการการเรียกดูข้อมูลตามข้อความที่ต้องการ โดยใช้คำสั่ง In และ between • ให้แสดงรายชื่อนักศึกษาที่มีงานอดิเรก คือ ฟังเพลง และอ่านหนังสือ • ให้แสดงรหัส และรายชื่อนักศึกษาที่เข้าร่วมชมรมต่างๆ โดยแสดง • เฉพาะนักศึกษาที่มีรหัสระหว่าง 4600020 - 4600040
การใช้คำสั่งการคำนวณค่าการใช้คำสั่งการคำนวณค่า • ในการคำนวณให้ใช้ชื่อฟิลด์แทนการคำนวณ เช่น Expr 1:UnitPrice*0.1 • SUM คำนวณผลรวม • AVG คำนวณค่าเฉลี่ย • MIN คำนวณค่าต่ำสุด • MAX คำนวณค่าสูงสุด • COUNT คำนวณค่าผลการนับในแต่ละแถว • FIRST จะให้ค่าแรกฟิลด์(ตามลำดับที่ปรากฏในตาราง) • LAST จะให้ค่าสุดท้ายฟิลด์(ตามลำดับที่ปรากฏในตาราง) • STDEV คำนวณส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน • VAR คำนวณความแปรปรวน
2. การคำนวณโดยใช้แบบสอบถาม การนับจำนวนนักศึกษา
ฝึกปฏิบัติ (การคำนวณ) • ให้สร้าง Query โดยใช้ Count ในการนับจำนวน • นับจำนวนนักศึกษาที่มีงานอดิเรกคือฟังเพลง • นับจำนวน text book ที่ใช้ในวิชาการ E-Commerce • นับจำนวนนักศึกษาที่ได้เกรด B วิชา การถ่ายภาพเบื้องต้น
ฝึกปฏิบัติ (การคำนวณ) 4. ให้แสดงคะแนนที่นักศึกษาสอบได้สูงสุดของแต่ละวิชา 5. ให้แสดงคะแนนเฉลี่ยของวิชา การออกแบบเว็บไซต์
โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์
โอเปอเรเตอร์สำหรับเปรียบเทียบโอเปอเรเตอร์สำหรับเปรียบเทียบ
3. การใช้สูตร + - X /
ตัวอย่าง ชื่อฟิลด์ที่สร้างใหม่ ชื่อฟิลด์ที่ต้องการคำนวณ
แบบฝึกหัด • ให้สร้าง Query • ให้คำนวณค่าหน่วยกิตของแต่ละวิชา โดยให้คิดอัตราหน่วยกิต ละ 200 บาท โดยให้แสดงผลเป็นคอลัมน์ใหม่ชื่อว่า อัตราหน่วยกิต • ให้เพิ่มคะแนนสอบปลายภาคของนักศึกษาทุกคนจำนวน 30 คะแนน ในวิชาอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น โดยให้แสดงผลเป็นคอลัมน์ใหม่ชื่อว่า คะแนนสอบปลายภาค
การนำ Queryขึ้นมาสร้างเป็นตารางใหม่ 1 2 3 4
การแปลงข้อมูลไปใช้กับโปรแกรมอื่น ๆ Access สามารถแปลงไฟล์ จาก ตาราง แบบสอบถาม ไปเป็นแฟ้มชนิดอื่นๆ ได้ เช่น Excel Word Dbase ฯ
1 คลิ๊กขวาเลือก query 2
4 ตั้งชื่อแฟ้ม 5 3 เลือกชนิดแฟ้ม