1 / 24

นพ. เล็ก น้าประเสริฐ กุมารแพทย์

Neonatal Resuscitation. นพ. เล็ก น้าประเสริฐ กุมารแพทย์. NCPR. A-B-C resuscitation sequence with a 3:1 compression-to-ventilation from asphxia (except cardiac 15:2) HR,RR,O2 sat/color, start with room air Suction in nonvigorous babies with meconium-stained amniotic fluid

Download Presentation

นพ. เล็ก น้าประเสริฐ กุมารแพทย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Neonatal Resuscitation นพ. เล็ก น้าประเสริฐ กุมารแพทย์

  2. NCPR • A-B-C resuscitation sequence with a 3:1 compression-to-ventilation from asphxia (except cardiac 15:2) • HR,RR,O2 sat/color, start with room air • Suction in nonvigorous babies with meconium-stained amniotic fluid • infants ≥36 wks with severe hypoxia ischemcia encephalopathy hypothermia • 10min no sign stop CPR

  3. สิ่งสำคัญที่ควรทราบ ขั้นตอนสำคัญที่สุดในการช่วยกู้ชีพ คือ การช่วยหายใจ การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อทารกหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ มักช่วยทำให้อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ถ้าอัตราการเต้นของหัวใจไม่เพิ่มขึ้น แสดงว่า การช่วยหายใจอาจไม่มีประสิทธิภาพ และ/หรือ ทารกอาจต้องการการช่วยเหลือขั้นต่อไป คือ การกดหน้าอก และการให้ยา epinephrine 1-3

  4. สิ่งสำคัญที่ควรทราบจากแผนภูมิขั้นตอนการช่วยกู้ชีพสิ่งสำคัญที่ควรทราบจากแผนภูมิขั้นตอนการช่วยกู้ชีพ • อัตราการเต้นของหัวใจ  60 ครั้ง/นาที  ให้การช่วยกู้ชีพตามขั้นตอนต่อไป • อัตราการเต้นของหัวใจ  60 ครั้ง/นาที  หยุดกดหน้าอก • อัตราการเต้นของหัวใจ  100 ครั้ง/นาที และหายใจได้เอง  หยุดการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก

  5. ดูดเสมหะจากปากและจมูกดูดเสมหะจากปากและจมูก • ดูดเสมหะในปากก่อนจมูก • ดูดเสมหะด้วยความนุ่มนวลในปาก (ดูดแรง  laryngeal spasm ) • สาย suction No. 10 Fr. โดย pressure ไม่เกิน 100 mmHg

  6. O2การให้ออกซิเจนผ่านตามสายO2การให้ออกซิเจนผ่านตามสาย 2-19B

  7. การให้ออกซิเจนผ่านทางหน้ากากการให้ออกซิเจนผ่านทางหน้ากาก

  8. PPV Positive pressure ventilation

  9. วิธีทำPositive pressure ventilation • PPV ด้วยอัตรา 40 ครั้งต่อนาที ,,,,,,,,สอง สาม บีบ • PPV โดยใช้ • PPV 1-2 ครั้งแรก ใช้ pressure 35-40 cmH2O • PPV ครั้งต่อไปใช้ pressure 15-20 cmH2O • ถ้าทารกมีโรคของปอดเช่น congenital pneumonia อาจต้องใช้ pressure สูงกว่า 15-20 cmH2O • ถ้า PPV นานกว่า 2 นาที ควรใส่ orogastric tube

  10. จัดตำแหน่งศีรษะ และลำคอ ท่าก้มคอมากเกินไป ท่าเหยียดคอมากเกินไป ท่าที่เหมาะสม

  11. ขนาดที่เหมาะสมของresuscitation mask mask ขนาดพอดี mask ขนาดเล็กมาก mask ขนาดใหญ่มาก

  12. Self inflating bag Pressure release vale Valve assembly Oxygen reservoir

  13. การ suction ด้วยMeconium aspirator สาย suction สาย suction Meconium aspirator

  14. การเลือกขนาดEndotracheal tube ขนาด น้ำหนัก อายุครรภ์ ความลึก (กรัม) (สัปดาห์) (cm.) 2.5 <1,000 <28 6.5-7 3.0 1,000-2,000 28-34 7-8 3.5 2,000-3,000 34-38 8-9 3.5-4.0 >3,000 > 38 9-10

  15. การกดหน้าอก การใช้นิ้วหัวแม่มือ(Thumb Technique)(ดีกว่า) เมื่อยล้าน้อยกว่า สามารถควบคุมความลึกของการกดหน้าอกได้ดีกว่า การใช้สองนิ้วมือ(2-Finger Technique) เหมาะสำหรับผู้ช่วยกู้ชีพที่มีมือขนาดเล็ก ใช้พื้นที่ไม่มาก เปิดทางเข้าสู่สะดือได้ดีกว่าเมื่อต้องการให้ยา p. 4-5 4-16

  16. การกดหน้าอก : ตำแหน่งการวางมือและนิ้ว

  17. 1 รอบ =กดหน้าอก 3 ครั้ง+ช่วยหายใจ 1 ครั้ง RR 30 ครั้ง และกCC 90 ครั้ง=120 ครั้ง ระยะเวลาที่ใช้ในการกดควรจะสั้นกว่าระยะเวลาในการปล่อย เพื่อให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจมากที่สุด ความลึกของการกดหน้าอกประมาณ 1 ใน 3 ของความกว้างทรวงอกในแนวหน้าหลัง การกดหน้าอกกับการช่วยหายใจ 4-18

  18. การทำ Chest compression วิธีที่ถูกต้อง วิธีที่ไม่ถูกต้อง

  19. ขั้นตอนเบื้องต้น : มีขี้เทาในน้ำคร่ำ ทารก Not vigorous: ดูดขี้เทาในหลอดลมคอทันทีหลังคลอดก่อนให้การช่วยเหลือขั้นต่อไป ทารกVigorous: ดูดขี้เทาและสารคัดหลั่งจากปากและจมูกและช่วยเหลือตามขั้นตอน * Vigorousหมายถึง การหายใจได้ดี ความตึงตัวของกล้ามเนื้อดี อัตราการเต้นของหัวใจ >100 ครั้ง/นาที 2-20

  20. ขั้นตอนการใส่สายสวนกระเพาะอาหารขั้นตอนการใส่สายสวนกระเพาะอาหาร วัดความยาวของสายสวนกระเพาะอาหาร

  21. ความผิดปกติของการทำงานของปอด: ไส้เลื่อนกระบังลมแต่กำเนิด(congenital diaphragmatic hernia) • ทารกที่สงสัยว่าเป็นโรคไส้เลื่อนกระบังลม • ไม่ควรให้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกผ่านหน้ากาก • ใส่ท่อช่วยหายใจและใส่สายสวนกระเพาะอาหาร • ขนาดใหญ่ทางปาก

  22. การช่วยกู้ชีพในทารกที่คลอดนอกโรงพยาบาล หรือนอกเหนือไปจากระยะหลังเกิดทันที แนวทางปฏิบัติ • วางทารกบนตัวมารดาให้ผิวหนังสัมผัสกัน (skin-skin contact)และเพิ่มอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม • ดูดสารคัดหลั่งในปากและจมูก ด้วยลูกยางแดง หรือผ้าสะอาด • เป่าลมเข้าปอดผ่านทางปากและจมูก (mouth-to-mouth-and-nose)

  23. ETTUBEDEPT-NB =6+BW (KG) • - Age0-1y=10cm • -Agemore 1y=10+y • -CXR=ปลายTube at T2-4…..ระหว่างClavicleทั้งสอง • -CUP at 8 y • ET TUBE SIZE=นิ้วก้อย…16+y • 4 • BW • 1-12Mo=m+9 • 2 • 2-6y=2y+8 • 7y -12y=7y-5 • 2

More Related