100 likes | 224 Views
Chapter XV Wholesaling Management. By Aj-Kulachatr Chatrakul Na Ayudhaya Marketing Department Business Administration Faculty Payap University Chiang-Mai Thailand. Functional Area of Wholesaling. Local Wholesaler
E N D
Chapter XVWholesalingManagement By Aj-Kulachatr Chatrakul Na Ayudhaya Marketing Department Business Administration Faculty Payap University Chiang-Mai Thailand
Functional Area of Wholesaling • Local Wholesaler • ขายส่งในระดับท้องถิ่น ขอบเขตความรับผิดชอบน้อย ขนส่งไม่ไกล มีค่าใช้จ่ายต่ำกว่าระดับชาติ มักเป็นธุรกิจค้าส่งในระดับจังหวัด หรือ ภูมิภาค ใกล้ชิดลูกค้า แต่ปริมาณขายส่งต่ำกว่าระดับชาติ • National Wholesaler • มีขอบเขตในระดับประเทศ ขายส่งได้ทุกจังหวัด ปริมาณการขายมาก ลูกค้ามีจำนวนมาก มีความสลับซับซ้อนในการขายส่ง อาจมีลูกค้าเป็น Local Wholesaler ช่วยกระจายสินค้าอีกชั้นหนึ่ง
ลักษณะโดยทั่วไปของกิจการค้าส่งลักษณะโดยทั่วไปของกิจการค้าส่ง • มียอดจำหน่ายสูงกว่ากิจการค้าปลีก • มีค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาและการขนส่ง สูงมาก • เปอร์เซ็นต์กำไรสุทธิต่อยอดขายต่ำกว่ากิจการค้าปลีก • เปอร์เซ็นต์กำไรแตกต่างกันไปตามลักษณะของสินค้าที่จำหน่าย • ไม่ค่อยมีการโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์ในกิจการค้าส่ง • กำไรจากการดำเนินงานส่วนใหญ่มาจากปริมาณการจำหน่ายสินค้า
Services of Wholesaling Business • Anticipating Customer’s needs, Buying , Assorting and Communicating • Selling and Promotion • Financing • Storage • Breaking Bulk and Cross Docking • Transportation • Risk Taking
Wholesaling Activities • Trade Fairs • งานแสดงสินค้าที่จัดขึ้นโดยเอกชนหรือรัฐบาล มุ่งหมายให้ผู้ผลิตต่างๆ ร่วมกันจัดแสดงสินค้า ณ สถานที่เดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกัน เป็นการรวมความต้องการของผู้ซื้อสินค้าอย่างเดียวกันไว้ที่เดียวกัน ก่อให้เกิดความประหยัดและเพิ่มศักยภาพในการรับคำสั่งซื้อและเป็นการเพิ่มทางเลือกแก่ลูกค้า เช่น การจัดงาน EXPO , World Fairs , OTOP , SMEs Fairs เป็นต้น
Trade Exhibition เป็นการแสดงนิทรรศการโดยทั่วไป ไม่ใหญ่โตเท่ากับ Trade Fairs อาจเป็นการจัดนิทรรศการของกิจการค้าส่งเอง หรือร่วมมือกับภาครัฐ ภาคเอกชน ไม่กี่ราย อาจใช้พื้นที่เล็กๆ ในห้างสรรพสินค้า ในการจัดกิจกรรมร่วมกับทางห้าง เช่น การจัดกิจกรรมแสดงสินค้า ณ บริเวณโถง ชั้นหนึ่ง ของห้างสรรพสินค้า หรือจัดงานสัปดาห์สินค้าพิเศษ เนื่องในเทศกาลต่างๆ เช่น เทศกาลสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ เทศกาลสินค้าแฟชั่น เทศกาลผลไม้ เทศกาลของขวัญของที่ระลึก เป็นต้น Merchandise Mart ศูนย์แสดงสินค้า เป็น อาคารใหญ่ที่ตั้งขึ้นมาโดยองค์กรของรัฐ หรือเอกชนก็ได้ โดยให้กิจการค้าส่งหรือผู้ผลิตสินค้า เช่าพื้นที่ในการแสดงสินค้าเป็นประจำหรือครั้งคราวก็ได้ เช่น - Merchandise Mart ในมหานครชิคาโก สหรัฐอเมริกา ศูนย์แสดงสินค้าไทย ของกรมพาณิชย์สัมพันธ์ กรุงเทพมหานคร ศูนย์แสดงสินค้าพื้นเมือง (Northern Village) ที่ห้างโรบินสัน แอร์พอร์ต เชียงใหม่ ศูนย์แสดงสินค้า SMEs ศูนย์แสดงสินค้า OTOP
Merchandise Mart Merchandise Mart in Chicago Merchandise Mart in Missouri
คลังสินค้าสาธารณะ เป็นโกดังให้เช่าพื้นที่ในการเก็บและบริหารสินค้า ขนถ่าย หีบห่อ และส่งมอบสินค้า ข้อดี คือ ผู้เช่าไม่ต้องลงทุนสร้างเอง ประหยัดค่าใช้จ่าย เลือกพื้นที่ในการเช่าคลัง เพื่อลดค่าใช้จ่ายขนส่งได้ ประหยัดภาษีโรงเรือนและยังหักภาษีค่าเช่าได้ ลดต้นทุนในการจ้างคนดูแลรักษาและส่งมอบสินค้า เช่น คลังสินค้าของ David Distribution เป็นต้น Public Warehouse
Freight Forward and Transportation • กิจการรับส่งสินค้าและบริษัทขนส่ง • เป็นอีกหนึ่งภารกิจที่มีความสำคัญของธุรกิจค้าส่ง เพราะมีหน้าที่ช่วยกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค ตัวอย่างกิจการรับส่งสินค้า ได้แก่ • องค์กรเอกชนอิสระ เช่น นิ่มซี่เส็ง , สุวรรณไพศาลขนส่ง , KPN Logistic Leo-Delivery , Cementthai Logistic เป็นต้น • องค์กรของรัฐ เช่น องค์การ ร.ส.พ. (รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์) • องค์กรรัฐวิสาหกิจ การรถไฟแห่งประเทศไทย , การบินไทย (Air Cargo) บริษัทเดินเรือ หรือกิจการพาณิชย์นาวีต่างๆ • องค์กรแปรรูป เช่น บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด , OTOP-Express • องค์กรข้ามชาติ ส่งในไทย เช่น Geo-Logistic • องค์กรข้ามชาติ เช่น FedEx , DHL , UPS , TNT