220 likes | 528 Views
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี. น้ำตกจากสันภูพาน อุทยานแห่งธรรมะ อารยธรรมห้าพันปี ธานีผ้าหมี่ขิด แดนเนรมิตหนองประจักษ์ เลิศลักษณ์กล้วยไม้หอม อุดรซันไฌน์. ผลการดำเนินงานควบคุมโรคหนอนพยาธิในพื้นที่เสี่ยงสูง จังหวัดอุดรธานี ปี 2545.
E N D
คำขวัญจังหวัดอุดรธานีคำขวัญจังหวัดอุดรธานี น้ำตกจากสันภูพาน อุทยานแห่งธรรมะ อารยธรรมห้าพันปี ธานีผ้าหมี่ขิด แดนเนรมิตหนองประจักษ์ เลิศลักษณ์กล้วยไม้หอม อุดรซันไฌน์
ผลการดำเนินงานควบคุมโรคหนอนพยาธิในพื้นที่เสี่ยงสูงผลการดำเนินงานควบคุมโรคหนอนพยาธิในพื้นที่เสี่ยงสูง จังหวัดอุดรธานี ปี 2545
ผลการดำเนินงานควบคุมโรคหนอนพยาธิในพื้นที่เสี่ยงสูงผลการดำเนินงานควบคุมโรคหนอนพยาธิในพื้นที่เสี่ยงสูง จังหวัดอุดรธานี ปี 2545 พื้นที่ดำเนินการ เลือกพื้นที่ดำเนินการ 4 อำเภอ ได้แก่ - อำเภอหนองวัวซอ , บ้านผือ, เพ็ญ , บ้านดุง โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจหาความชุกของพยาธิใบไม้ตับ ในปีงบประมาณ 2544
คัดเลือกหมู่บ้านดำเนินการ จำนวน 30 หมู่บ้าน อำเภอหนองวัวซอ 8 หมู่บ้าน อำเภอบ้านผือ 8 หมู่บ้าน อำเภอบ้านดุง 7 หมู่บ้าน อำเภอเพ็ญ 7 หมู่บ้าน
วัตถุประสงค์ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีในการป้องกันและควบคุม โรคหนอนพยาธิ เป้าหมาย 1. เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิใบไม้ตับ ให้เหลือไม่เกินร้อยละ 10 2. ประชาชนได้รับการตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ ร้อยละ 30 ของประชากร และได้รับการบำบัด ด้วยยาทุกรายที่ตรวจพบไข่พยาธิ
แนวทางในการดำเนินงานควบคุมโรคหนอนพยาธิแนวทางในการดำเนินงานควบคุมโรคหนอนพยาธิ 1. การกำจัดแหล่งแพร่โรคในคน 1.1 การตรวจอุจจาระเพื่อการวินิจฉัยโรค - ฝึกอบรมพนักงานจุลทัศนกร - จัดหาวัสดุวิทยาศาสตร์ - ซ่อมบำรุงกล้องจุลทรรศน์ - ตรวจอุจจาระในประชาชนเชิงรุก-รับ - ควบคุมมาตรฐานด้าน LAB
1.2 การรักษาโรคหนอนพยาธิ - จัดหาและสนับสนุนยา 2. การป้องกันการติดโรคเฉพาะบุคคล 3. การป้องกันการแพร่โรคในชุมชน 4. การพึ่งตนเองและมีส่วนร่วมของชุมชน
รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานรูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน 1. จัดประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 2. คัดเลือกพื้นที่ดำเนินการ 3.จัดอบรมพนักงานจุลทัศนกร หลักสูตร 5 วัน ( วันที่ 10 - 14 มิถุนายน 2545 ) 4. เตรียมชุมชน , เก็บอุจจาระส่งตรวจ , แจ้งสถานการณ์โรคพยาธิใบไม้ตับให้ประชาชนทราบ 4.1 รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับพยาธิใบไม้ตับในชุมชน และ โรงเรียน
รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน(ต่อ)รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน(ต่อ) 5. จัดประชุมปฏิบัติการงานควบคุมโรคหนอนพยาธิใน พื้นที่เสี่ยงสูง (วันที่ 6 สิงหาคม 2545) 6. จัดเวทีประชาคมแก่แกนนำชุมชน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ตลอดจนกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม กำหนดรูปแบบดำเนินการโดยเน้นการสร้างชุมชนให้ เข้มแข็ง ด้วยกระบวนการ AIC (วันที่ 8-9 ส.ค. 2545)
รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน(ต่อ)รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน(ต่อ) 6.1 จัดเวทีชาวบ้าน ให้ประชาชนรู้จักวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง 6.2 จัดบอร์ดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้เรื่องโรค พยาธิใบไม้ตับในโรงเรียน 6.3 จัดบรรยายพิเศษให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่อง บริโภคสุก สะอาด ปราศจากโรคพยาธิ
รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน(ต่อ)รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน(ต่อ) 6.4 อบรมอาสาสมัครนักเรียน จำนวน 30 โรงเรียน 7. ประเมินอัตราความชุกของพยาธิใบไม้ตับว่าลดลงหรือไม่ 8. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ
ผชช.ว.กล่าวเปิดการอบรมพนักงานจุลทัศนกรผชช.ว.กล่าวเปิดการอบรมพนักงานจุลทัศนกร กำลังฝึกภาคปฏิบัติอย่างตั้งใจ
การอภิปรายหมู่การดำเนินงานควบคุมหนอนพยาธิให้สำเร็จการอภิปรายหมู่การดำเนินงานควบคุมหนอนพยาธิให้สำเร็จ แกนนำชุมชน
นพ.สสจ.อุดรธานีกล่าวเปิดการประชุมปฏิบัติการนพ.สสจ.อุดรธานีกล่าวเปิดการประชุมปฏิบัติการ
พญ. ประภาศรี กล่าวความเป็นมาของโครงการควบคุมหนอนพยาธิ
อ. จันทร์เพ็ญ จากกองสุขศึกษา อ.อมรรัตน์ วิทยากรจาก สคต. 6 ขอนแก่น
ระยะเวลาดำเนินการ • พฤษภาคม 2545 - กันยายน 2545 • ผลการดำเนินการ • ผลการตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ 30 หมู่บ้าน • พบว่ามีอัตราความชุกเฉลี่ยร้อยละ • จัดอบรมพนักงานจุลทัศนกรใหม่จำนวน 29 ราย • ป้องกันโรคหนอนพยาธิด้วยพลังชุมชน (เน้นการมีส่วนร่วม)
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 1. ประชาชนมีวัฒนธรรมการบริโภคสืบทอดจากบรรพบุรุษ โดยเชื่อว่ารับประทานอาหารปลาดิบแล้วจะแข็งแรง 2. พฤติกรรมการขับถ่าย ยังถ่ายนอกส้วมเป็นบางครั้ง เนื่องจากพื้นที่เป็นป่า , ภูเขา และมีลำน้ำไหลผ่าน
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ(ต่อ)ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ(ต่อ) 3. จัดทำโครงการโรงเรียนปลอดพยาธิ โดยให้คณะครูในโรงเรียน มีส่วนรับผิดชอบและมีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน เพื่อให้นักเรียน ครอบครัว ชุมชนมีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการบริโภคและพฤติกรรมอื่น ๆ ที่เอื้อต่อการเป็น โรคพยาธิใบไม้ตับ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวอย่างต่อเนื่อง
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ(ต่อ) 4. พัฒนากลวิธีทางสุขศึกษาและประชาสัมพันธ์และสนับสนุน การดำเนินงานให้อย่างพียงพอและต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ปลอดภัยจากการติดโรค และการแพร่ โรคพยาธิใบไม้ตับ โดยอาศัยการมีส่วนร่วม ของ องค์กร ในท้องถิ่น สื่อมวลชน ศิลปินพื้นบ้าน และผู้นำชุมชน ทุกระดับ
สวัสดี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี